The development of a computerized version of Thai stress test for visual handicap
Issued Date
2017
Copyright Date
2017
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xi, 89 leaves : ill. (some col.)
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Clinical Psychology))--Mahidol University, 2017
Suggested Citation
Kanokwan Chaiyasurayakan The development of a computerized version of Thai stress test for visual handicap. Thesis (M.Sc. (Clinical Psychology))--Mahidol University, 2017. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92369
Title
The development of a computerized version of Thai stress test for visual handicap
Alternative Title(s)
การพัฒนาแบบวัดความเครียดสำหรับคนไทยรูปแบบคอมพิวเตอร์สำหรับผู้พิการมองเห็น
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
The main objective of this study was to develop a computerized version of Thai Stress Test for visual handicap, and to evaluate a psychometric property of computerized version of Thai Stress Test for visual handicap. Also, the data related to visual handicap's stress (cause, thought, feeling, experience, and stress coping) were collected to examine a stress level in visual handicap. The analyses included content validity, reliability, and interview data analysis. The samples in this research were 53 visually handicapped volunteer students in inclusive education who are studying 6-12th grade from the Bangkok School for the Blind. The results revealed that the computerized version of Thai Stress Test for visual handicap was suitable to use as a tool for visual handicap since it had content validity which was investigated by the experts and had the reliability score at .83. Besides, the samples showed a satisfaction of the computerized version of Thai Stress Test for visual handicap (80%). They reported that the application was efficient and convenient. The average test time was 7 minutes and 48 seconds. Most of the stress levels of the samples were between normal and mild level. The main stress factor was studying caused by overthinking, being easily triggered, having a headache and becoming solitary. The relaxation activity was listening to music. To conclude, the computerized version of Thai Stress Test for visual handicap is effective, practical, and able to measure stress level in visual handicap. Also, it could be beneficial to prevent stress and treat visual handicap, and could be a guideline for other computerized psychological assessment for disability.
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อพัฒนา และศึกษาคุณภาพแบบวัดความเครียดสำหรับคนไทยรูปแบบคอมพิวเตอร์สำหรับผู้พิการทางการมองเห็น ทั้งนี้มีวัตถุประสงค์รองคือการศึกษาระดับความเครียดในผู้พิการทางการมองเห็นและศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับความเครียดในผู้พิการทางการมองเห็น ได้แก่ สาเหตุ ความคิด ความรู้สึก ประสบการณ์ และวิธีการจัดการกับความเครียด โดยการวิเคราะห์ความตรงเชิงเนื้อหา วิเคราะห์ค่าความเชื่อมั่น และวิเคราะห์จากการสัมภาษณ์ ซึ่งกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักเรียนเรียนร่วมผู้มีความพิการทางการมองเห็นในโรงเรียนสอนคนตาบอดกรุงเทพ ที่ศึกษาอยู่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1-6 จำนวน 53 คน ที่สมัครใจเข้าร่วมโครงการ ผลการวิจัยพบว่าแบบวัดความเครียดสำหรับคนไทยรูปแบบคอมพิวเตอร์สำหรับผู้พิการทางการมองเห็นมีความเหมาะสมในการนำไปวัดระดับความเครียดกับผู้พิการทางการมองเห็น เนื่องจากผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้เชี่ยวชาญ อีกทั้งมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .83 นอกจากนี้ผู้เข้าร่วมงานวิจัยมากกว่าร้อยละ 80 มีความพึงพอใจต่อการใช้งานและเห็นว่าโปรแกรมมีประสิทธิภาพและสะดวกในการใช้งาน โดยมีเวลาการใช้งานในส่วนแบบวัดและผลการทดสอบโดยเฉลี่ย 7 นาที 48 วินาที ทั้งนี้ยังพบว่าผู้เข้าร่วมวิจัยมีความเครียดอยู่ในระดับสุขภาพจิตปกติและระดับภาวะเครียดเล็กน้อย โดยมีสาเหตุของความเครียดส่วนใหญ่มาจากการเรียนที่หนัก ซึ่งความเครียดทำให้เกิดความเปลี่ยนปลงส่วนใหญ่คือ มีความคิดวกวนซ้ำๆ อารมณ์ร้อนหงุดหงิดโมโหง่าย มึนหรือปวดศีรษะ และมีพฤติกรรมแยกตัวออกจากสังคม ซึ่งมักจะใช้วิธีผ่อนคลายความเครียดด้วยวิธีการฟังเพลง จากผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าแบบวัดความเครียดสำหรับคนไทยรูปแบบคอมพิวเตอร์สำหรับผู้พิการทางการมองเห็น มีประสิทธิภาพได้มาตรฐาน และสามารถนำมาใช้วัดความเครียดในผู้พิการทางการมองเห็นได้จริง ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการวางแผนป้องกัน รักษาผู้ที่ความมีภาวะเครียดในผู้ที่มีความพิการทางการมองเห็นและเป็นแนวทางในการพัฒนาแบบวัดทางจิตวิทยาในรูปแบบคอมพิวเตอร์สำหรับผู้พิการในกลุ่มอื่นต่อไป
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อพัฒนา และศึกษาคุณภาพแบบวัดความเครียดสำหรับคนไทยรูปแบบคอมพิวเตอร์สำหรับผู้พิการทางการมองเห็น ทั้งนี้มีวัตถุประสงค์รองคือการศึกษาระดับความเครียดในผู้พิการทางการมองเห็นและศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับความเครียดในผู้พิการทางการมองเห็น ได้แก่ สาเหตุ ความคิด ความรู้สึก ประสบการณ์ และวิธีการจัดการกับความเครียด โดยการวิเคราะห์ความตรงเชิงเนื้อหา วิเคราะห์ค่าความเชื่อมั่น และวิเคราะห์จากการสัมภาษณ์ ซึ่งกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักเรียนเรียนร่วมผู้มีความพิการทางการมองเห็นในโรงเรียนสอนคนตาบอดกรุงเทพ ที่ศึกษาอยู่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1-6 จำนวน 53 คน ที่สมัครใจเข้าร่วมโครงการ ผลการวิจัยพบว่าแบบวัดความเครียดสำหรับคนไทยรูปแบบคอมพิวเตอร์สำหรับผู้พิการทางการมองเห็นมีความเหมาะสมในการนำไปวัดระดับความเครียดกับผู้พิการทางการมองเห็น เนื่องจากผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้เชี่ยวชาญ อีกทั้งมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .83 นอกจากนี้ผู้เข้าร่วมงานวิจัยมากกว่าร้อยละ 80 มีความพึงพอใจต่อการใช้งานและเห็นว่าโปรแกรมมีประสิทธิภาพและสะดวกในการใช้งาน โดยมีเวลาการใช้งานในส่วนแบบวัดและผลการทดสอบโดยเฉลี่ย 7 นาที 48 วินาที ทั้งนี้ยังพบว่าผู้เข้าร่วมวิจัยมีความเครียดอยู่ในระดับสุขภาพจิตปกติและระดับภาวะเครียดเล็กน้อย โดยมีสาเหตุของความเครียดส่วนใหญ่มาจากการเรียนที่หนัก ซึ่งความเครียดทำให้เกิดความเปลี่ยนปลงส่วนใหญ่คือ มีความคิดวกวนซ้ำๆ อารมณ์ร้อนหงุดหงิดโมโหง่าย มึนหรือปวดศีรษะ และมีพฤติกรรมแยกตัวออกจากสังคม ซึ่งมักจะใช้วิธีผ่อนคลายความเครียดด้วยวิธีการฟังเพลง จากผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าแบบวัดความเครียดสำหรับคนไทยรูปแบบคอมพิวเตอร์สำหรับผู้พิการทางการมองเห็น มีประสิทธิภาพได้มาตรฐาน และสามารถนำมาใช้วัดความเครียดในผู้พิการทางการมองเห็นได้จริง ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการวางแผนป้องกัน รักษาผู้ที่ความมีภาวะเครียดในผู้ที่มีความพิการทางการมองเห็นและเป็นแนวทางในการพัฒนาแบบวัดทางจิตวิทยาในรูปแบบคอมพิวเตอร์สำหรับผู้พิการในกลุ่มอื่นต่อไป
Description
Clinical Psychology (Mahidol University 2017)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital
Degree Discipline
Clinical Psychology
Degree Grantor(s)
Mahidol University