Capillary electrophoresis of adamantane drugs using in-capillary derivatization and indirect UV detection techniques
Issued Date
2024
Copyright Date
2015
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xiv, 111 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (Ph.D. (Pharmaceutical Chemistry and Phytochemistry))--Mahidol University, 2015
Suggested Citation
Pornpan Prapatpong Capillary electrophoresis of adamantane drugs using in-capillary derivatization and indirect UV detection techniques. Thesis (Ph.D. (Pharmaceutical Chemistry and Phytochemistry))--Mahidol University, 2015. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91666
Title
Capillary electrophoresis of adamantane drugs using in-capillary derivatization and indirect UV detection techniques
Alternative Title(s)
แคปิลลารีอิเล็กโทรโฟรีซีสสำหรับยากลุ่มอะดาแมนแทนโดยเทคนิคการเกิดปฏิกิริยาอนุพันธ์ภายในแคปิลลารี และการตรวจหาด้วยวิธีดูดกลืนรังสีอัลตราไวโอเลตโดยทางอ้อม
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
Adamantane derivatives including memantine amantadine and rimantadine have been approved for treatments of Alzheimer's disease and Parkinson's disease, respectively. While, rimantadine has been used as an antiviral drug, analysis of adamantane drugs can be problematic due to the lack of fluorophore and chromophore in their structure. There are a need to develop rapid and suitable methods for the analysis of these drugs. The purpose of this study was to establish capillary electrophoretic methods for the analysis of adamantane drugs in pharmaceutical formulations using in-capillary derivatization and indirect UV detection techniques. For the first approach, fluorescamine dye was used as a derivatizing agent. The optimized condition was achieved in 100 mM borate buffer pH 10.0 containing 0.1%w/v of Brij-35 and 20%v/v of ACN using a capillary with a Ltotal of 55.5 cm, 50 μm i.d., injection at 50 mbar for 10 s, the temperature and the applied voltage were 25 °C and +25 kV, respectively, and the detection was at 305 nm. Baseline separation of the drugs was obtained in 8 min. The validated method was successfully applied in the determination of adamantane drugs in pharmaceutical formulations. Furthermore, the indirect UV detection was evaluated. The optimized condition for the separation of the adamantane drugs was in 10 mM of sodium dihydrogen phosphate with 5 mM of brompheniramine as a probe and 6 mM of β-CD using a capillary with a Ltotal of 64.5 cm, 50 μm i.d., injection at 50 mbar for 10 s, the temperature and the applied voltage were 25°C and 30 kV, respectively, and the detection was at 210 nm. Baseline separation of the drugs was obtained in 7 min. The optimal conditions were successfully validated and applied in the determination of adamantane drugs in pharmaceutical formulation. Both techniques were compared in term of the CE conditions, validation data and assay data from pharmaceutical formulation samples.
ยากลุ่มอะดาแมนแทนประกอบด้วย ยามีแมนทีน ยาอะแมนทาดีน และยาไรแมนทาดีน ซึ่งมีการรับรองให้ใช้ในการรักษาในผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์และโรคพาร์คินสัน ขณะที่ยาไรแมนทาดีน มีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาเป็นยาต้านไวรัสเพื่อใช้ในการรักษาโรคไข้หวัดใหญ่ การวิเคราะห์ยาทั้งสามชนิดมีความซับซ้อน เนื่องจากภายในสูตรโครงสร้างไม่มีโครโมฟอร์ หรือฟลูออโรฟอร์ ดังนั้นการพัฒนาวิธีวิเคราะห์จึงมีความจำเป็นในยาทั้งสามชนิด งานวิจัยนี้จึงมุ่งเน้นที่จะพัฒนาแคปิลลารีอิเล็กโทรโฟรีซีสเพื่อนำมาใช้ในการตรวจวิเคราะห์ยาโดยใช้เทคนิคการเกิดปฏิกิริยาอนุพันธ์ภายในแคปิลลารี และการตรวจหาด้วยวิธีดูดกลืนรังสีอัลตราไวโอเลตโดยทางอ้อม ในวิธีแรกใช้ฟลูออเรสคามีนในการก่ออนุพันธ์ จากการศึกษาพบว่าสภาวะการวิเคราะห์ที่เหมาะสมได้แก่ การใช้ 100 มิลลิโมลาร์ของบอเรตบัฟเฟอร์ที่พีเอช 10 และประกอบด้วย 0.1% โดยน้ำหนักต่อปริมาตรของบริจ-35 และ 20%โดยปริมาตรของอะซิโตรไนไทร อุณหภูมิในการแยกที่ 25 องศาเซลเซียส และความต่างศักย์ไฟฟ้าในการแยกสารที่ 25 กิโลโวลต์ สภาวะดังกล่าวสามารถแยกสารได้ในเวลา 8 นาที วิธีวิเคราะห์ที่ผ่านการประเมินได้ถูกนำไปประยุกต์ใช้ในการหาปริมาณของยากลุ่มอะแมนทาแดนในเภสัชภัณฑ์ สำหรับการพัฒนาการตรวจหาด้วยวิธีดูดกลืนรังสีอัลตราไวโอเลตโดยทางอ้อม พบว่าสภาวะการวิเคราะห์ที่เหมาะสมได้แก่ การใช้ 10 มิลลิโมลาร์ของโซเดียมไดไฮโดรเจนฟอสเฟสที่พีเอช 5 และประกอบด้วย 6 มิลลิโมลาร์ของเบตา-ไซโคลเด็กทรินซ์ และใช้ 5 มิลลิโมลาร์ของบรอมเฟนนิรามีนเป็นตัวตรวจวัด อุณหภูมิในการแยกที่ 25 องศาเซลเซียส และความต่างศักย์ไฟฟ้าในการแยกสารที่ 30 กิโลโวลต์ สภาวะดังกล่าวสามารถแยกสารทั้งสามชนิดได้ในเวลา 7.5 นาที วิธีวิเคราะห์ที่ผ่านการประเมินได้ถูกนำไปประยุกต์ใช้ในการหาปริมาณของ ยากลุ่มอะแมนทาแดนในเภสัชภัณฑ์ จากนั้นได้นำวิธีวิเคราะห์ทั้งสองวิธีมาเปรียบเทียบเชิงสถิติในหัวข้อต่อไปนี้ คือ สภาวะทางแคปิลลารีอิเล็กโทรโฟรีซีส ข้อมูลการประเมินวิธีวิเคราะห์ และปริมาณของยากลุ่มอะแมนทาแดนในตัวอย่างเภสัชภัณฑ์
ยากลุ่มอะดาแมนแทนประกอบด้วย ยามีแมนทีน ยาอะแมนทาดีน และยาไรแมนทาดีน ซึ่งมีการรับรองให้ใช้ในการรักษาในผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์และโรคพาร์คินสัน ขณะที่ยาไรแมนทาดีน มีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาเป็นยาต้านไวรัสเพื่อใช้ในการรักษาโรคไข้หวัดใหญ่ การวิเคราะห์ยาทั้งสามชนิดมีความซับซ้อน เนื่องจากภายในสูตรโครงสร้างไม่มีโครโมฟอร์ หรือฟลูออโรฟอร์ ดังนั้นการพัฒนาวิธีวิเคราะห์จึงมีความจำเป็นในยาทั้งสามชนิด งานวิจัยนี้จึงมุ่งเน้นที่จะพัฒนาแคปิลลารีอิเล็กโทรโฟรีซีสเพื่อนำมาใช้ในการตรวจวิเคราะห์ยาโดยใช้เทคนิคการเกิดปฏิกิริยาอนุพันธ์ภายในแคปิลลารี และการตรวจหาด้วยวิธีดูดกลืนรังสีอัลตราไวโอเลตโดยทางอ้อม ในวิธีแรกใช้ฟลูออเรสคามีนในการก่ออนุพันธ์ จากการศึกษาพบว่าสภาวะการวิเคราะห์ที่เหมาะสมได้แก่ การใช้ 100 มิลลิโมลาร์ของบอเรตบัฟเฟอร์ที่พีเอช 10 และประกอบด้วย 0.1% โดยน้ำหนักต่อปริมาตรของบริจ-35 และ 20%โดยปริมาตรของอะซิโตรไนไทร อุณหภูมิในการแยกที่ 25 องศาเซลเซียส และความต่างศักย์ไฟฟ้าในการแยกสารที่ 25 กิโลโวลต์ สภาวะดังกล่าวสามารถแยกสารได้ในเวลา 8 นาที วิธีวิเคราะห์ที่ผ่านการประเมินได้ถูกนำไปประยุกต์ใช้ในการหาปริมาณของยากลุ่มอะแมนทาแดนในเภสัชภัณฑ์ สำหรับการพัฒนาการตรวจหาด้วยวิธีดูดกลืนรังสีอัลตราไวโอเลตโดยทางอ้อม พบว่าสภาวะการวิเคราะห์ที่เหมาะสมได้แก่ การใช้ 10 มิลลิโมลาร์ของโซเดียมไดไฮโดรเจนฟอสเฟสที่พีเอช 5 และประกอบด้วย 6 มิลลิโมลาร์ของเบตา-ไซโคลเด็กทรินซ์ และใช้ 5 มิลลิโมลาร์ของบรอมเฟนนิรามีนเป็นตัวตรวจวัด อุณหภูมิในการแยกที่ 25 องศาเซลเซียส และความต่างศักย์ไฟฟ้าในการแยกสารที่ 30 กิโลโวลต์ สภาวะดังกล่าวสามารถแยกสารทั้งสามชนิดได้ในเวลา 7.5 นาที วิธีวิเคราะห์ที่ผ่านการประเมินได้ถูกนำไปประยุกต์ใช้ในการหาปริมาณของ ยากลุ่มอะแมนทาแดนในเภสัชภัณฑ์ จากนั้นได้นำวิธีวิเคราะห์ทั้งสองวิธีมาเปรียบเทียบเชิงสถิติในหัวข้อต่อไปนี้ คือ สภาวะทางแคปิลลารีอิเล็กโทรโฟรีซีส ข้อมูลการประเมินวิธีวิเคราะห์ และปริมาณของยากลุ่มอะแมนทาแดนในตัวอย่างเภสัชภัณฑ์
Description
Pharmaceutical Chemistry and Phytochemistry (Mahidol University 2015)
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
Mahidol University. Faculty of Pharmacy
Degree Discipline
Pharmaceutical Chemistry and Phytochemistry
Degree Grantor(s)
Mahidol University