การจัดกิจกรรมวงสตริงสมัยนิยมโรงเรียนนครพนมวิทยาคม
Issued Date
2567
Copyright Date
2561
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ก-ฎ, 86 แผ่น : ภาพประกอบ, โน้ตเพลง
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
สารนิพนธ์ (ศศ.ม. (ดนตรี))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2561
Suggested Citation
ยงยุทธ การินทร์ การจัดกิจกรรมวงสตริงสมัยนิยมโรงเรียนนครพนมวิทยาคม . สารนิพนธ์ (ศศ.ม. (ดนตรี))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2561 . สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91855
Title
การจัดกิจกรรมวงสตริงสมัยนิยมโรงเรียนนครพนมวิทยาคม
Alternative Title(s)
Pop band activity organization of Nakhonphanom Wittayakhom School
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
สารนิพนธ์เล่มนี้มีจุดประสงค์ในการศึกษาการจัดกิจกรรมวงสตริงสมัยนิยมโรงเรียนนครพนมวิทยาคม เก็บข้อมูลโดยการใช้ แบบสัมภาษณ์ และแบบสังเกต ผู้วิจัยได้นำผลการศึกษามาให้คำอธิบายโดยผู้วิจัยพบว่า 1) การจัดกิจกรรมได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหารโรงเรียนในด้านของงบประมาณ และอาคารสถานที่ 2) ครูผู้สอนได้ทำการคัดเลือกนักดนตรี โดยรับนักเรียนที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรมตามความสมัครใจ หลังจากนั้น ครูผู้สอนได้ทำค่ายปรับพื้นฐานเป็นเวลา 4 สัปดาห์ 3) การฝึกซ้อมวงสตริงสมัยนิยมครูผู้สอนได้แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ดังนี้ 1. การฝึกซ้อมเดี่ยว ครูผู้สอนให้นักเรียนได้ฝึกทบทวนการเล่นในแต่ละเครื่องมือ เพื่อเตรียมตัวก่อนทำการซ้อมรวมวง 2. การฝึกซ้อมรวมวง ครูผู้สอนเป็นผู้ควบคุมการฝึกซ้อม ครูจะดูภาพรวมแล้วค่อย ๆ ปรับวงไปทีละจุด 4) การจัดแสดง ครูผู้สอนได้ให้ความสำคัญในการจัดแสดงทั้งภายใน และภายนอกโรงเรียน 5) การแข่งขันวงสตริงสมัยนิยม ครูผู้สอนมีวิธีคัดเลือกเพลงไปแข่งขัน โดยใช้ดุลยพินิจของครูผู้สอน ใช้หลักการเลือกเพลงที่มีความยาก มีความเป็นไปได้ ที่นักเรียนจะสามารถเล่นเพลงนั้นได้ 6) การแก้ปัญหา และอุปสรรค ปัญหาในเรื่องของเวลาในการจัดกิจกรรม เนื่องจากช่วงเวลาในการจัดกิจกรรมที่ทำให้นักเรียนมีอาการล้า และเหนื่อย ส่งผลให้นักเรียนไม่สามารถใช้เวลาที่เหลือในการทบทวนการเรียนวิชาอื่น ๆ ได้เท่าที่ควร ครูผู้สอนแก้ไขโดยการจัดหาเวลาว่าง เพื่อให้นักเรียนได้รับผิดชอบงานด้านการเรียน โดยมีครูผู้สอนคอยติดตามการส่งงานอยู่เสมอ ปัญหาโรงเรียนยังไม่มีงบประมาณทำห้องซ้อม ครูผู้สอนแก้ปัญหาโดยการขนอุปกรณ์ไปซ้อมในห้องเรียนชั่วคราว ปัญหานักเรียนมีความตื่นเต้นเสมอเมื่อได้แสดงดนตรีกับผู้ชมจำนวนมาก ครูผู้สอนแก้ไขโดยการนำนักเรียนที่เรียนในชุมนุม หรือเรียนวิชาดนตรี เข้ามาชมก่อนการแสดงวันจริงเพื่อให้นักเรียนได้ปรับตัว และลดความตื่นเต้น ปัญหาในการเตรียมการแข่งขันวงสตริง จะมีในด้านอุปกรณ์การแข่งขันยังไม่มีคุณภาพเท่าที่ควร ครูผู้สอนได้ทำการแก้ไขโดยหยิบยืมอุปกรณ์มาเพื่อมาใช้ในการแข่งขันชั่วคราว 7) การเข้าร่วมกิจกรรมของนักเรียน ส่งผลดีต่อตัวนักเรียนในด้านระเบียบวินัย และมีเจตคติที่ดีต่อดนตรี
The purpose of this thematic paper is to study pop band activity organization of Nakhonphanom Wittayakhom School. Information was collected using interview and observation. The research found that: 1) The activity organization was supported by the administrator of the school in terms of budget and venue. 2) The teacher selected interested students and organized a music camp for 4 weeks to improve their skills 3) At the music camp, the teacher classified practicing in 2 sections: solo practicing in which the students reviewed and practiced each instrument before a band rehearsal, and a band rehearsal in which the teacher supervised the rehearsal and corrected each mistake. 4) In terms of performance, the teacher placed importance on both inside and outside school performances. 5) For pop band competitions, the teacher chose a song by considering its difficulty and suitability for students' skills. 6) Regarding obstacle and problem solving, the students were tired and had problems about studying other subjects and having insufficient time to do homework therefore, the teacher modulated a schedule for them so that students had time for their study and ensured that they handed in homework on time. Since the school did not have enough budget for providing a rehearsal room, the teacher moved the instruments to classroom for practicing. As the members of the pop band were excited during performance, the teacher brought other students to observe their rehearsal to reduce the excitement. Regarding the problem about preparation for competition, as the quality of instruments was not good enough, the teacher had to borrow some instruments from other schools. 7) Students' participation in the activity led to discipline and better attitude towards music.
The purpose of this thematic paper is to study pop band activity organization of Nakhonphanom Wittayakhom School. Information was collected using interview and observation. The research found that: 1) The activity organization was supported by the administrator of the school in terms of budget and venue. 2) The teacher selected interested students and organized a music camp for 4 weeks to improve their skills 3) At the music camp, the teacher classified practicing in 2 sections: solo practicing in which the students reviewed and practiced each instrument before a band rehearsal, and a band rehearsal in which the teacher supervised the rehearsal and corrected each mistake. 4) In terms of performance, the teacher placed importance on both inside and outside school performances. 5) For pop band competitions, the teacher chose a song by considering its difficulty and suitability for students' skills. 6) Regarding obstacle and problem solving, the students were tired and had problems about studying other subjects and having insufficient time to do homework therefore, the teacher modulated a schedule for them so that students had time for their study and ensured that they handed in homework on time. Since the school did not have enough budget for providing a rehearsal room, the teacher moved the instruments to classroom for practicing. As the members of the pop band were excited during performance, the teacher brought other students to observe their rehearsal to reduce the excitement. Regarding the problem about preparation for competition, as the quality of instruments was not good enough, the teacher had to borrow some instruments from other schools. 7) Students' participation in the activity led to discipline and better attitude towards music.
Description
ดนตรี (มหาวิทยาลัยมหิดล 2561)
Degree Name
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
วิทยาลัยดุริยางคศิลป์
Degree Discipline
ดนตรี
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล