Health related quality of life of patient with depression receiving care in Thai health service system
Issued Date
2016
Copyright Date
2016
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ix, 143 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (D.N.S. (Nursing))--Mahidol University, 2016
Suggested Citation
Kenika Jiratchayaporn Health related quality of life of patient with depression receiving care in Thai health service system. Thesis (D.N.S. (Nursing))--Mahidol University, 2016. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92230
Title
Health related quality of life of patient with depression receiving care in Thai health service system
Alternative Title(s)
คุณภาพชีวิตเชิงสุขภาพของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่ได้รับการดูแลในระบบบริการสุขภาพของไทย
Author(s)
Abstract
Although health related quality of life (HRQOL) has become an important to focus specifically on the impact of illness and treatments for patients with depression, few studies have conducted to explore HRQOL of patients from different types of hospitals. Therefore, in the first phase of this study aimed at examining a change in HRQOL of patients from various types of hospitals and explored health service system factors and personal factors of patients that could reflect their HRQOL in the second phase. This was a quantitative study. Data in the first phase from 30 participants per center from four different types of hospitals were collected at the first, sixth, and 12th weeks of the treatment course by the World Health Organization Quality of Life Brief (WHOQOL-BREF) assessment, Thai version. In the second phase, 495 participants' data from 15 settings located in Bangkok metropolis and central regions of Thailand were collected by Hamilton rating scale for Depression Thai version, the multidimensional Scale of Perceived Social Support Thai and WHOQOL-BREF Thai version for patient-level data and the questionnaire to measure interprofessional collaboration between clinical professionals used for organization-level data. In the first phase, the change in HRQOL score of participants was increased in each type of hospitals at their first visit, 6th week and 12th week after first visit, respectively (p<.001 except in 6th week of regional hospital that p< .01).For the second phase, the patient-level factors significantly were age, living arrangement (p<.05), severity of depressive symptoms, social support (p<.001) and interprofessional collaboration (p<.01). However, the random part of Generalized linear mixed model (GLMM) could not be identified because intra-class correlation (ICC) was the quite low. Apart from patient-level factors, these findings reflected HRQOL in patient with depression in terms of resources available in different types of hospital that could be used as baseline data for development of Thai mental health service systems.
แม้ว่าคุณภาพชีวิตเชิงสุขภาพจะมีความสำคัญต่อการศึกษาผลกระทบจากความเจ็บป่วยและการรักษาของผู้ป่วยซึมเศร้า แต่การศึกษาคุณภาพชีวิตเชิงสุขภาพของผู้ป่วยที่รักษาอยู่ในโรงพยาบาลประเภทต่าง ๆ ยังมีน้อยมาก ดังนั้นในการศึกษาระยะที่ 1 เป็นการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของคะแนนคุณภาพชีวิตเชิงสุขภาพของผู้ป่วยซึมเศร้าที่รับบริการในโรงพยาบาลประเภทตต่าง ๆ และการศึกษาระยะที่ 2 เป็นการศึกษาปัจจัยระดับผู้ป่วยและระดับหน่วยงานที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตเชิงสุขภาพการศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงปริมาณ โดยการศึกษาระยะที่ 1 มีการแบ่งโรงพยาบาลเป็น 4 ประเภทๆละ 1 โรงพยาบาล และเก็บข้อมูลของผู้เข้าร่วมการศึกษาจำนวน 30 คนต่อโรงพยาบาล โดยใช้แบบวัดคุณภาพชีวิตขององค์การอนามัยโลกชุดย่อฉบับภาษาไทยในครั้งแรกของการรับบริการ และติดตามผลในสัปดาห์ที่ 6 และ 12 ของการรับบริการ ในขณะที่การเก็บข้อมูลของผู้เข้าร่วมการศึกษาระยะที่ 2 มีจำนวน 495 คน จาก 15 โรงพยาบาลที่ตั้งอยู่ในกรุงเทพและภาคกลาง โดยใช้แบบวัด Hamilton Rating Scale for Depression ฉบับภาษาไทยแบบสอบถามความรู้สึกหลากหลายมิติเกี่ยวกับความช่วยเหลือทางสังคม และแบบวัดคุณภาพชีวิตขององค์การอนามัยโลกชุดย่อ ฉบับภาษาไทย สำหรับการเก็บข้อมูลในผู้ป่วย รวมทั้งใช้แบบประเมินความร่วมมือระหว่างวิชาชีพเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลระดับหน่วยงาน ผลการศึกษาในระยะที่ 1 พบว่า คะแนนคุณภาพชีวิตเชิงสุขภาพของผู้เข้าร่วมการศึกษาในสัปดาห์ที่ 6 และ 12 ของแต่ละประเภทของโรงพยาบาลมีคะแนนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.001, ยกเว้น p<.01 ในสัปดาห์ที่ 6 ของโรงพยาบาลศูนย์) สำหรับผลการศึกษาระยะที่ 2 พบว่า ปัจจัยระดับผู้ป่วยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตเชิงสุขภาพได้แก่ อายุและการอยู่อาศัย (p<.05), ความรุนแรงของอาการซึมเศร้าและการสนับสนุนทางสังคม (p<.001) และปัจจัยระดับหน่วยงานคือความร่วมมือระหว่างวิชาชีพ (p<.01)อย่างไรก็ตามในการศึกษาครั้งนี้ไม่สามารถหาค่าปฏิสัมพันธ์ระหว่างระดับได้ เนื่องจากค่าสัมประสิทธ์ิสัมพันธ์ภายในกลุ่ม (ICC) ค่อนข้างต่ำ นอกเหนือไปจากปัจจัยระดับผู้ป่วย การศึกษาครั้งนี้ยังสะท้อนให้เห็นถึงคุณภาพชีวิตเชิงสุขภาพของผู้ป่วยซึมเศร้าที่อยู่ในโรงพยาบาลที่มีการกระจายทรัพยากรที่แตกต่างกัน ซึ่งข้อมูลที่ได้น่าจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาระบบบริการสุขภาพทางด้านสุขภาพจิตของไทย
แม้ว่าคุณภาพชีวิตเชิงสุขภาพจะมีความสำคัญต่อการศึกษาผลกระทบจากความเจ็บป่วยและการรักษาของผู้ป่วยซึมเศร้า แต่การศึกษาคุณภาพชีวิตเชิงสุขภาพของผู้ป่วยที่รักษาอยู่ในโรงพยาบาลประเภทต่าง ๆ ยังมีน้อยมาก ดังนั้นในการศึกษาระยะที่ 1 เป็นการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของคะแนนคุณภาพชีวิตเชิงสุขภาพของผู้ป่วยซึมเศร้าที่รับบริการในโรงพยาบาลประเภทตต่าง ๆ และการศึกษาระยะที่ 2 เป็นการศึกษาปัจจัยระดับผู้ป่วยและระดับหน่วยงานที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตเชิงสุขภาพการศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงปริมาณ โดยการศึกษาระยะที่ 1 มีการแบ่งโรงพยาบาลเป็น 4 ประเภทๆละ 1 โรงพยาบาล และเก็บข้อมูลของผู้เข้าร่วมการศึกษาจำนวน 30 คนต่อโรงพยาบาล โดยใช้แบบวัดคุณภาพชีวิตขององค์การอนามัยโลกชุดย่อฉบับภาษาไทยในครั้งแรกของการรับบริการ และติดตามผลในสัปดาห์ที่ 6 และ 12 ของการรับบริการ ในขณะที่การเก็บข้อมูลของผู้เข้าร่วมการศึกษาระยะที่ 2 มีจำนวน 495 คน จาก 15 โรงพยาบาลที่ตั้งอยู่ในกรุงเทพและภาคกลาง โดยใช้แบบวัด Hamilton Rating Scale for Depression ฉบับภาษาไทยแบบสอบถามความรู้สึกหลากหลายมิติเกี่ยวกับความช่วยเหลือทางสังคม และแบบวัดคุณภาพชีวิตขององค์การอนามัยโลกชุดย่อ ฉบับภาษาไทย สำหรับการเก็บข้อมูลในผู้ป่วย รวมทั้งใช้แบบประเมินความร่วมมือระหว่างวิชาชีพเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลระดับหน่วยงาน ผลการศึกษาในระยะที่ 1 พบว่า คะแนนคุณภาพชีวิตเชิงสุขภาพของผู้เข้าร่วมการศึกษาในสัปดาห์ที่ 6 และ 12 ของแต่ละประเภทของโรงพยาบาลมีคะแนนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.001, ยกเว้น p<.01 ในสัปดาห์ที่ 6 ของโรงพยาบาลศูนย์) สำหรับผลการศึกษาระยะที่ 2 พบว่า ปัจจัยระดับผู้ป่วยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตเชิงสุขภาพได้แก่ อายุและการอยู่อาศัย (p<.05), ความรุนแรงของอาการซึมเศร้าและการสนับสนุนทางสังคม (p<.001) และปัจจัยระดับหน่วยงานคือความร่วมมือระหว่างวิชาชีพ (p<.01)อย่างไรก็ตามในการศึกษาครั้งนี้ไม่สามารถหาค่าปฏิสัมพันธ์ระหว่างระดับได้ เนื่องจากค่าสัมประสิทธ์ิสัมพันธ์ภายในกลุ่ม (ICC) ค่อนข้างต่ำ นอกเหนือไปจากปัจจัยระดับผู้ป่วย การศึกษาครั้งนี้ยังสะท้อนให้เห็นถึงคุณภาพชีวิตเชิงสุขภาพของผู้ป่วยซึมเศร้าที่อยู่ในโรงพยาบาลที่มีการกระจายทรัพยากรที่แตกต่างกัน ซึ่งข้อมูลที่ได้น่าจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาระบบบริการสุขภาพทางด้านสุขภาพจิตของไทย
Description
Nursing (Mahidol University 2016)
Degree Name
Doctor of Nursing Science
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
Faculty of Nursing
Degree Discipline
Nursing
Degree Grantor(s)
Mahidol University