การพัฒนาแบบฝึกหัดทักษะนักเรียนด้านการอ่านโน้ตดนตรีสากลเบื้องต้นโดยวิธีการประยุกต์ใช้วิธีการของโคดายสำหรับนักเรียนกิจกรรมชุมนุมวงโยธวาทิตโรงเรียนสงวนหญิง จังหวัดสุพรรณบุรี
Issued Date
2560
Copyright Date
2560
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ก-ฌ, 139 แผ่น : ภาพประกอบ
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
สารนิพนธ์ (ศศ.ม. (ดนตรีศึกษา))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2560
Suggested Citation
บุษบา น้ำค้าง การพัฒนาแบบฝึกหัดทักษะนักเรียนด้านการอ่านโน้ตดนตรีสากลเบื้องต้นโดยวิธีการประยุกต์ใช้วิธีการของโคดายสำหรับนักเรียนกิจกรรมชุมนุมวงโยธวาทิตโรงเรียนสงวนหญิง จังหวัดสุพรรณบุรี. สารนิพนธ์ (ศศ.ม. (ดนตรีศึกษา))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2560. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92672
Title
การพัฒนาแบบฝึกหัดทักษะนักเรียนด้านการอ่านโน้ตดนตรีสากลเบื้องต้นโดยวิธีการประยุกต์ใช้วิธีการของโคดายสำหรับนักเรียนกิจกรรมชุมนุมวงโยธวาทิตโรงเรียนสงวนหญิง จังหวัดสุพรรณบุรี
Alternative Title(s)
Skill drill module for music reading of Kodaly's method application in Marching Band Club, Sa-Nguanying Secondary School, Suphanburi, Thailand
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
สารนิพนธ์ในครั้งนี้เป็นงานวิจัยเชิงทดลองมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางในการฝึก ทักษะนักเรียนด้านการอ่านโน้ตดนตรีสากลเบื้องต้น ศึกษาเพื่อสร้างแบบฝึกทักษะ และหา ประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการอ่านโน้ตดนตรีสากลเบื้องต้นศึกษาความพึงพอใจ ของนักเรียน ที่มีต่อแบบฝึกทักษะการอ่านโน้ตดนตรีสากลเบื้องต้นโดยการสร้างแบบฝึกทักษะและทดลองใช้ สอนกับนักเรียนวงโยธวาทิตชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 จำนวน 19 คน มีการทดสอบก่อนเรียนระหว่าง เรียนและหลังเรียน ผลการวิจัยพบว่าแบบฝึกทักษะมีค่าความตรงเชิงเนื้อหา อยู่ในระดับใช้ได้ทุก ข้อค่าเฉลี่ยของผลต่างของคะแนนจากแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้และมีประสิทธิภาพโดยรวมเท่ากับ 95.79/90.8 เป็นไปตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ (เกณฑ์ 80/80) ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อแบบฝึกทักษะ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุดทุกรายการประเมิน
This thematic paper was experimental research. The purposes of this research were to develop students skill of music reading, create skill drill module for music reading, evaluate for efficacy of skill drill module for music reading, study and assay the complacency of students for kill drill module for music reading by creating skill drill module . Nineteen Mathayom Suksa 1 who played in the marching band were selected for this study. Both the per-test and the post-test were given to the students during and after the study. The research found that the validity of quality skill drill module was e ntirely practicable in rating . The average difference of pre-test and post-test were found at 95.79/90.8 which were above the standardize criteria of 80/80. It was found that the students' achievement after using the skill drill module for music reading was higher than before using the skill drill at 0.05 level of significance. The students' complacency after using the skill drill were in highest assessment in every subject matter.
This thematic paper was experimental research. The purposes of this research were to develop students skill of music reading, create skill drill module for music reading, evaluate for efficacy of skill drill module for music reading, study and assay the complacency of students for kill drill module for music reading by creating skill drill module . Nineteen Mathayom Suksa 1 who played in the marching band were selected for this study. Both the per-test and the post-test were given to the students during and after the study. The research found that the validity of quality skill drill module was e ntirely practicable in rating . The average difference of pre-test and post-test were found at 95.79/90.8 which were above the standardize criteria of 80/80. It was found that the students' achievement after using the skill drill module for music reading was higher than before using the skill drill at 0.05 level of significance. The students' complacency after using the skill drill were in highest assessment in every subject matter.
Description
ดนตรีศึกษา (มหาวิทยาลัยมหิดล 2560)
Degree Name
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
วิทยาลัยดุริยางคศิลป์
Degree Discipline
ดนตรีศึกษา
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล