การวิเคราะห์ความหมายคู่ตรงข้ามของ 'สุขภาพ' และ 'ความงาม' ในบทความเชิงโฆษณาของนิตยสารสุขภาพและความงาม
Issued Date
2558
Copyright Date
2558
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
[ก]-ฑ, 204 แผ่น : ภาพประกอบ
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ภาษาศาสตร์))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2558
Suggested Citation
ฐิรวรรณ ดำรงรัตน์ การวิเคราะห์ความหมายคู่ตรงข้ามของ 'สุขภาพ' และ 'ความงาม' ในบทความเชิงโฆษณาของนิตยสารสุขภาพและความงาม. วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ภาษาศาสตร์))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2558. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92859
Title
การวิเคราะห์ความหมายคู่ตรงข้ามของ 'สุขภาพ' และ 'ความงาม' ในบทความเชิงโฆษณาของนิตยสารสุขภาพและความงาม
Alternative Title(s)
A semantic analysis of the binary opposition of 'Health' and 'Beauty' in health and beauty magazine advertorials
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความหมายเชิงโครงสร้างแบบคู่ตรงข้ามของ 'สุขภาพ' และ 'ความงาม' และมายาคติที่เกิดจากการสร้างความหมายเชิงโครงสร้างแบบคู่ตรงข้าม ของ 'สุขภาพ' และ 'ความงาม' ในบทความเชิงโฆษณาของนิตยสารสุขภาพและความงามที่ตีพิมพ์ ในปี 2556 โดยใช้วิธีการศึกษาวิเคราะห์ความหมายตามแนวทางทฤษฎีสี่เหลี่ยมสัญศาสตร์ (Semiotic square) และมายาคติ (Myth) ผลการศึกษาพบว่าบทความเชิงโฆษณาของนิตยสารสุขภาพและความงามมีการ นำเสนอความหมายเชิงโครงสร้างแบบคู่ตรงข้ามของ 'สุขภาพ' และ 'ความงาม' ในลักษณะที่ สัมพันธ์กันในตัวบท ซึ่งความหมายเชิงโครงสร้างดังกล่าวมีความสอดคล้องกับมายาคติ (Myth) ที่ ปรากฏในลักษณะคู่ตรงข้ามเช่นเดียวกัน นอกจากนี้ผลการวิจัยยังพบว่ามายาคติเหล่านี้ได้ถูกนำเสนอ ให้มีความหมายในด้าน 'ความงาม' เป็นส่วนใหญ่โดยมีกลวิธีการนำความหมายในด้าน 'สุขภาพ' เข้ามาผูกโยงเพื่อเป็นการสนับสนุนและก่อให้เกิดความหมายมายาคติเกี่ยวกับ 'ความงามแบบ สุขภาพดี'
The research's objective is to study the structural semantics of the binary opposition of 'health' and 'beauty' in health and beauty magazine advertorials which were published in 2013. The researcher applied the semiotic square and myth theories for the analysis. The study results show that health and beauty magazine advertorials have presented that the structural meaning of 'health' is related to 'beauty' in the text. The structural meanings are created to relate with the myth of health and beauty. Furthermore, the study results also show that this myth mainly presents the significance of 'beauty' and uses the importance of 'health' to support the myth of 'healthy beauty'.
The research's objective is to study the structural semantics of the binary opposition of 'health' and 'beauty' in health and beauty magazine advertorials which were published in 2013. The researcher applied the semiotic square and myth theories for the analysis. The study results show that health and beauty magazine advertorials have presented that the structural meaning of 'health' is related to 'beauty' in the text. The structural meanings are created to relate with the myth of health and beauty. Furthermore, the study results also show that this myth mainly presents the significance of 'beauty' and uses the importance of 'health' to support the myth of 'healthy beauty'.
Description
ภาษาศาสตร์ (มหาวิทยาลัยมหิดล 2558)
Degree Name
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย
Degree Discipline
ภาษาศาสตร์
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล