Atom-task preconditioning technique to reduce large scale gui testing time based on parallel scheduling algorithm
dc.contributor.advisor | Supaporn Kiattisin | |
dc.contributor.advisor | Somkiat Wattanasirichaigoon | |
dc.contributor.advisor | Theera Pirunrat | |
dc.contributor.author | Supaket Wongkampoo | |
dc.date.accessioned | 2024-01-11T03:13:02Z | |
dc.date.available | 2024-01-11T03:13:02Z | |
dc.date.copyright | 2017 | |
dc.date.created | 2017 | |
dc.date.issued | 2024 | |
dc.description | Information Technology Management (Mahidol University 2017) | |
dc.description.abstract | A primary goal in modern software development process is to reduce development time. For a rapid product time to market, a quick method for gathering feedback from the user is required. Development and operation (DevOps), is a new practice designed to improve software development processes, by providing continuous integration and delivery. In this continuous process, software testing is the most significantly time-consuming part of the overall process, especially for the graphic user interface, or GUI. Several techniques can reduce GUI testing time, such as distributed testing in which UI testing is run in parallel on distributed machines. However, attempting to setup and run distributed GUI testing without either experience or knowledge from an expert can lead to unnecessary obstructions, creating a bottleneck at the worker node resulting to an inability to predict the optimum number of units required for testing. The purpose of this study is to evaluate the Atom-Task precondition technique for filtering the test before running the parallel testing process, in order to reduce testing time, avoid bottleneck problems, and also to retain an ability to scale the number of machine units to the desired testing time with predictable resources for large-scale testing in a distributed environment | |
dc.description.abstract | เป้าหมายหลักในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์สมัยใหม่ คือการลดเวลาในการพัฒนา สำหรับผลิตภัณฑ์ที่มีการออกสู่ตลาดอย่างรวดเร็วจำเป็นต้องมีวิธีการรวบรวมข้อมูลความคิดเห็นจากผู้ใช้อย่างรวดเร็ว การพัฒนาและการดำเนินงาน (DevOps) เป็นแนวทางใหม่ที่ออกแบบมาเพื่อปรับปรุงกระบวนการ พัฒนาซอฟต์แวร์โดยการประกอบและการส่งมอบอย่างต่อเนื่องในขั้นตอนการประกอบซอฟต์แวร์นั้นขั้นตอนการทดสอบซอฟต์แวร์เป็นส่วนที่ใช้เวลามากที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สำหรับส่วนติดต่อผู้ใช้กราฟิกหรือ GUI มีเทคนิคหลายอย่างสามารถลดเวลาในการทดสอบ GUI เช่น การทดสอบแบบกระจาย ซึ่งการทดสอบ GUI เป็นการทำงานแบบขนานบนเครื่องแบบกระจายศูนย์ อย่างไรก็ตามความพยายามในการติดตั้งและรันการทดสอบ GUI แบบกระจายโดยไม่มีประสบการณ์หรือความรู้จากผู้เชี่ยวชาญ อาจมีอุปสรรคกีดกันการทางานของหน่วยผู้ปฏิบัติงาน หรือ เรียกว่า คอขวด ทำให้ไม่สามารถคาดการณ์จำนวนหน่วยปฏิบัติงานที่ลดเวลาได้สูงสุดในการทดสอบ วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้ คือ การประเมินเทคนิคเบื้องต้นของ Atom-Task สำหรับการกรองหน่วยทดสอบก่อนที่จะใช้กระบวนการทดสอบแบบขนาน เพื่อลดเวลาในการทดสอบ หลีกเลี่ยงปัญหาคอขวด และยังคงรักษาความสามารถในการปรับจำนวนหน่วยปฏิบัติงานให้เหลือน้อยลง รวมถึงเวลาในการทดสอบที่ต้องการด้วยทรัพยากรที่คาดการณ์ได้ โดยใช้สำหรับการทดสอบขนาดใหญ่ในสภาพแวดล้อมแบบกระจายศูนย์ | |
dc.format.extent | x, 48 leaves : ill. | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier.citation | Thesis (M.Sc. (Information Technology Management))--Mahidol University, 2017 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92488 | |
dc.language.iso | eng | |
dc.publisher | Mahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center | |
dc.rights | ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า | |
dc.rights.holder | Mahidol University | |
dc.subject | Computer software -- Testing | |
dc.subject | Parallel programming (Computer science) | |
dc.title | Atom-task preconditioning technique to reduce large scale gui testing time based on parallel scheduling algorithm | |
dc.title.alternative | เทคนิคการปรับเงื่อนไขหน่วยทดสอบแบบ Atom-Task ก่อนเข้ากระบวนการทดสอบกราฟิกยูสเซอร์อินเตอร์เฟสขนาดใหญ่บนพื้นฐานของขั้นตอนวิธีการจัดสรรเวลาแยยขนาน | |
dc.type | Master Thesis | |
dcterms.accessRights | open access | |
mods.location.url | http://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2560/cd534/5937858.pdf | |
thesis.degree.department | Faculty of Engineering | |
thesis.degree.discipline | Information Technology Management | |
thesis.degree.grantor | Mahidol University | |
thesis.degree.level | Master's degree | |
thesis.degree.name | Master of Science |