Effect of social support on continuum of care for Methamphetamine addicts

dc.contributor.advisorPrapapun Chucharoen
dc.contributor.advisorPiyawat Katewongsa
dc.contributor.authorLacha Rueangkit
dc.date.accessioned2024-01-11T03:13:00Z
dc.date.available2024-01-11T03:13:00Z
dc.date.copyright2017
dc.date.created2017
dc.date.issued2024
dc.descriptionAddiction Studies (Mahidol University 2017)
dc.description.abstractThis descriptive study aimed to study the effects of Social Support on Continuum Care for Methamphetamine Addicts. Data were collected from a sample of 300 patients, using a questionnaire co consisting of 3 parts demographic, history of treatment, drug use and social support sections. Data were analyzed using descriptive statistic, One Way ANOVA, and Pearson's Product Moment Correlation. The results of this study showed that most of the clients received emotional, information, and tangible support at a moderate level (P < 0.01). The correlation between continuum of care and social support was 0.610, the information support was more significant than emotional and the tangible support at 0.599, P < 0.05. Based on the findings, it is recommended that social support, especially information support is important in the continuum of care for the addiction rehabilitation. This result could be used as a model in drug treatment program and in support strategy and policy development of the continuum of care in the Methamphetamine rehabilitation program of the Country.
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงพรรณนา เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผลของแรงสนับสนุนทางสังคมที่มีต่อการเข้ารับการดูแลอย่างต่อเนื่องสำหรับผู้ติด Methamphetamine ที่เข้ารับการบำบัดรักษาที่สถานบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดแห่งชาติบรมราชชนนี จำนวน 300 ราย ระหว่างเดือน สิงหาคม 2558 - กรกฎาคม 2559โดยเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือแบบสอบถาม 3 ส่วน ประกอบด้วย ข้อมูลทั่วไป ข้อมูลเกี่ยวกับประวัติการรักษาและการใช้ยาเสพติด และแบบสอบถามแรงสนับสนุนทางสังคมของผู้ติด Methamphetamine สถิติที่ใช้คือสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive statistic) , One Way ANOVA และใช้สถิติเพื่อวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson's Product Moment Correlation) ผลการศึกษาพบว่าแรงสนับสนุนทางสังคมด้านข้อมูล ด้านอารมณ์ และด้านสิ่งอำนวยความสะดวกมีความสำคัญต่อการบำบัดดูแลต่อเนื่องของผู้ติด Methamphetamine โดยพบในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01 ซึ่งมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ในภาพรวมอยู่ที่ 0.610 และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แรงสนับสนุนทางสังคมด้านข้อมูลอยู่ที่ 0.599 แต่ไม่พบความแตกต่างในระดับแรงสนับสนุนทางสังคมกับปัจจัยด้านคุณลักษณะทั่วไปของประชากรกลุ่มตัวอย่าง ส่วนประวัติการใช้ยาเสพติด มีปัจจัยด้านระยะเวลาที่ใช้ Methamphetamine ก่อนเข้ารับการบำบัดส่งผลต่อแรงสนับสนับสนุนทางสังคมมีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ 0.05 ผลการศึกษาดังกล่าว สามารถทำให้ทราบว่าผู้ติด Methamphetamine ที่เข้ารับการดูแลอย่างต่อเนื่องยอมรับว่าแรงสนับสนุนทางสังคมมีความสำคัญต่อการเข้ารับการดูแลอย่างต่อเนื่องจนจบกระบวนการบำบัดรักษา ข้อมูลดังกล่าวเป็นประโยชน์ในการเสริมสร้างความรู้และแนวทางการปฏิบัติให้ครอบครัวและเครือข่ายทางสังคมที่จะเข้ามาแก้ไขและป้องกันการติด Methamphetamine และส่งเสริมให้ผู้ติด Methamphetamine เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพและได้รับดูแลอย่างต่อเนื่องจนจบกระบวนการบำบัดรักษาต่อไป
dc.format.extentix, 64 leaves
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationThesis (M.A. (Addiction Studies))--Mahidol University, 2017
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92468
dc.language.isoeng
dc.publisherMahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderMahidol University
dc.subjectMethamphetamine abuse -- Treatment -- Thailand
dc.subjectSubstance abuse -- Treatment -- Thailand
dc.titleEffect of social support on continuum of care for Methamphetamine addicts
dc.title.alternativeผลของแรงสนับสนุนทางสังคมที่มีต่อการเข้ารับการดูแลอย่างต่อเนื่องสำหรับผู้ติด Methamphetamine
dc.typeMaster Thesis
dcterms.accessRightsopen access
mods.location.urlhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2560/cd529/5638580.pdf
thesis.degree.departmentASEAN Institute for Health Development
thesis.degree.disciplineAddiction Studies
thesis.degree.grantorMahidol University
thesis.degree.levelMaster's degree
thesis.degree.nameMaster of Arts

Files