Implementation and evaluation of TLS enabled web server without trusting the operating system

dc.contributor.advisorSudsanguan Ngamsuriyaroj
dc.contributor.advisorVasaka Visoottiviseth
dc.contributor.advisorThitinan Tantidham
dc.contributor.authorChiraphat Chaiphet
dc.date.accessioned2024-01-11T03:13:01Z
dc.date.available2024-01-11T03:13:01Z
dc.date.copyright2017
dc.date.created2017
dc.date.issued2024
dc.descriptionComputer Science (Mahidol University 2017)
dc.description.abstractWeb servers use SSL/TLS protocol to establish secure communication between clients and servers. The mechanism of SSL/TLS relies on a key pair to validate the server and to protect the confidentiality of the data. However, many websites are running on third-party servers or on cloud environments where website owners have no control over the physical servers or the software including the operating systems but still need to trust and store the private key on the servers it is common to store the encrypted key on the disk, the web server still needs a decrypted key inside the memory during the operation. Thus, an adversary could obtain the private key residing on the web server's memory. We proposed a secure enclave for a web server running the high p code that handles the secret keys inside an encrypted memory area by utilizing Intel Software Guard Extension (SGX). This secure enclave protects the key from an adversary by preventing external access to the secret keys memory area. The evaluation results showed 19% to 38% reduced throughput depending on which cipher suite is used and how a session key is handled
dc.description.abstractเครื่องแม่ข่ายของเว็บไซต์ในปัจจุบันใช้ SSL/TLS เป็นมาตรฐานในการเชื่อมต่ออย่าง ปลอดภัยระหว่างเครื่องแม่ข่ายและเครื่องลูกข่าย ซึ่งกระบวนการของ SSL/TLS นั้นอาศัยคู่ของกุญเจ (Public Key / Private Key) เพื่อพิสูจน์ตัวตนของเครื่องแม่ข่ายและเพื่อปกป้องความลับของข้อมูล อย่างไรก็ตามเว็บไซด์ในปัจจุบันมักใช้บริการเครื่องแม่ข่ายจากผู้ให้บริการอื่น เจ้าของเว็บไซต์ไม่มีสิทธิ์ในการควบคุมหรือเข้าถึงตัวเครื่องได้ แต่เจ้าของเว็บไซต์ก็ยังจำต้องไว้วางใจและ ฝากกุญแจส่วนตัว (Private key) ไว้กับครื่องแม่ข่ายของผู้ให้บริการ ถึงแม้ว่าจะสามารถเก็บกุญแจ ที่ถูกเข้ารหัสไว้บนดิสก็ได้ แต่เครื่องแม่ข่ายของเว็บไซต์ยังคงต้องการกุญแจที่ถอดรหัสแล้วใน หน่วยความจำระหว่างให้บริการ ดังนั้นผู้ประสงค์ร้ายจะมีโอกาสเข้าถึงกุญแจส่วนตัวที่อยู่ใน หน่วยความจำของเครื่องแม่ข่าขของว็บไซต์ได้หากระบบมีช่องโหว่ด้านความปลอดภัย วิทยานิพนธ์เล่มนี้นำเสนอการใช้เทคโนโลยี Intel Software Guard Extension (SGX) เพื่อแบ่งพื้นที่หน่วยความจำบางส่วนเป็นพื้นที่เข้ารหัส ซึ่งจะมีเพียงเฉพาะชุดโปรแกรมที่ ได้รับอนุญาตที่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยไม่ต้องการใช้เครื่องมือพิศษนอกจากหน่วยประมวลผล ของเครื่องแม่ข่ายเอง กระบวนการเข้ารหัสหน่วขยความจำนี้สามารถป้องกันไม่ให้ผู้ประสงค์ร้าย นำเอากุญแจออกจากเครื่องแม่ข่ายได้ จกผลการประเมินประสิทธิภาพ พบว่าวิธีการนี้ทำให้ ประสิทธิภาพของเครื่องแม่ข่ายลดลงร้อยละ 19 ถึงร้อยละ 38 ขึ้นอยู่กับว่าใช้กรรมวิธีเข้ารหัสและ ลักษณะการจัดการกุญแจอย่างไร เพื่อแลกกับความปลอดภัยบองกุญแจเข้ารหัสที่สูงขึ้น
dc.format.extentix, 41 leaves : ill.
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationThesis (M.Sc. (Computer Science))--Mahidol University, 2017
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92477
dc.language.isoeng
dc.publisherMahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderMahidol University
dc.subjectApplication software -- Development
dc.subjectComputer networks -- Security measures
dc.subjectData encryption (Computer science)
dc.titleImplementation and evaluation of TLS enabled web server without trusting the operating system
dc.title.alternativeการพัฒนาและประเมินเครื่องแม่ข่ายเว็บที่ใช้ TLS โดยไม่เชื่อถือระบบปฏิบัติการ
dc.typeMaster Thesis
dcterms.accessRightsopen access
mods.location.urlhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2560/cd530/5737762.pdf
thesis.degree.departmentFaculty of Information and Communication Technology
thesis.degree.disciplineComputer Science
thesis.degree.grantorMahidol University
thesis.degree.levelMaster's degree
thesis.degree.nameMaster of Science

Files