Subjectivity and experience of socail suffering of Thai undocumented laborers in South Korea
Issued Date
2024
Copyright Date
2019
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
x, 179 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (Ph.D. (Social Sciences and Health))--Mahidol University, 2019
Suggested Citation
Kanika Ussasarn Subjectivity and experience of socail suffering of Thai undocumented laborers in South Korea. Thesis (Ph.D. (Social Sciences and Health))--Mahidol University, 2019. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92249
Title
Subjectivity and experience of socail suffering of Thai undocumented laborers in South Korea
Alternative Title(s)
อัตวิสัยและประสบการณ์ความทุกข์ทางสังคมของแรงงานผิดกฎหมายไทยในเกาหลีใต้
Author(s)
Abstract
The objectives of this research were to analyze the power relationship and social structure that affected subjectivity and experience of social suffering of the Thai undocumented laborers in South Korea and to understand how they construct practices to negotiate with social sufferings. This was a multi-sited ethnography that used fifteen participants and thirty-five key informants selected using purposive sampling. In-depth interview and participant observation were used in collecting data both in two rural villages in Thailand and in one rural village in South Korea. The results showed that marginalization of the government development forced people to change their way of life from peasants to migrant laborers. The participants perceived their undocumented labor status in diverse meanings impacted on emotions, thoughts and practices in everyday life. As Thai undocumented laborers, participants faced with exploitation and discrimination in working places, physical and verbal abuses, sexual harassment, work-related illness and inaccessibility to health care services, and fear for arrest and deportation. Participants however, could construct various practices to solve their sufferings. The results could be applied to guide related government organizations to accept a precise labor supply by Korean employers and adjust an appropriate regulation for employment permit system. Thai undocumented laborers, therefore, could access more to the government employment.
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงอำนาจและโครงสร้างทางสังคมที่ส่งผลต่ออัตวิสัยและประสบการณ์ความทุกข์ทางสังคมของแรงงานผิดกฎหมายไทยในเกาหลีใต้ และเพื่อเข้าใจต่อต้านต่อรองกับความทุกข์ทางสังคมของพวกเขา วิทยานิพนธ์นี้ศึกษาโดยใช้ชาติพันธุ์วรรณนาพหุสนามในกลุ่มตัวอย่างจำนวน 15 คนและผู้ให้ข้อมูลหลักจำนวน 35 คน ที่มาจากการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง เครื่องมือในการศึกษาคือ การสัมภาษณ์เชิงลึกและการสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วมในหมู่บ้านชนบท 2 แห่งในประเทศไทย และหมู่บ้านชนบท 1 แห่งในประเทศเกาหลีใต้ ผล การศึกษาพบว่า การถูกทำให้เป็นชายขอบของการพัฒนาของรัฐทำให้ชาวบ้านเปลี่ยนแปลงวิถีการดำรงชีพจากชาวนาไปเป็นแรงงานข้ามชาติ กลุ่มตัวอย่างรับรู้ความหมายการเป็นแรงงานผิดกฎหมาย ที่แตกต่างหลากหลาย ซึ่งส่งผลต่ออารมณ์ความรู้สึก ความคิดและปฏิบัติการในชีวิตประจำวันของพวกเขา การมีสถานภาพเป็นแรงงานผิดกฎหมายไทย ส่งผลทำให้กลุ่มตัวอย่างต้องเผชิญกับการขูดรีด เอารัดเอาเปรียบและการถูกเลือกปฏิบัติในพื้นที่ทำงาน การถูกกระทำความรุนแรงทางร่างกายและทางวาจา การถูกล่วงละเมิดทางเพศ ความเจ็บป่วยที่เกิดจากการทำงานและ การเข้าไม่ถึงบริการสุขภาพ ความหวาดกลัวจากการถูกจับกุมและส่งตัวกลับ ในขณะเดียวกันกลุ่มตัวอย่าง ก็สามารถสร้างปฏิบัติการที่มีความหลากหลายเพื่อจัดการความทุกข์ยากของตนเอง ผลการศึกษาเสนอให้หน่วยงาน ภาครัฐที่เกี่ยวข้องควรยอมรับความต้องการจ้างงานที่แท้จริงของนายจ้าง และควรปรับระบบการจ้างแรงงานข้ามชาติให้มีความละเอียดอ่อนและเหมาะสมเพื่อทำให้แรงงานผิดกฎหมายไทยสามารถเข้าถึง การจ้างงานของรัฐได้มากขึ้น
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงอำนาจและโครงสร้างทางสังคมที่ส่งผลต่ออัตวิสัยและประสบการณ์ความทุกข์ทางสังคมของแรงงานผิดกฎหมายไทยในเกาหลีใต้ และเพื่อเข้าใจต่อต้านต่อรองกับความทุกข์ทางสังคมของพวกเขา วิทยานิพนธ์นี้ศึกษาโดยใช้ชาติพันธุ์วรรณนาพหุสนามในกลุ่มตัวอย่างจำนวน 15 คนและผู้ให้ข้อมูลหลักจำนวน 35 คน ที่มาจากการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง เครื่องมือในการศึกษาคือ การสัมภาษณ์เชิงลึกและการสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วมในหมู่บ้านชนบท 2 แห่งในประเทศไทย และหมู่บ้านชนบท 1 แห่งในประเทศเกาหลีใต้ ผล การศึกษาพบว่า การถูกทำให้เป็นชายขอบของการพัฒนาของรัฐทำให้ชาวบ้านเปลี่ยนแปลงวิถีการดำรงชีพจากชาวนาไปเป็นแรงงานข้ามชาติ กลุ่มตัวอย่างรับรู้ความหมายการเป็นแรงงานผิดกฎหมาย ที่แตกต่างหลากหลาย ซึ่งส่งผลต่ออารมณ์ความรู้สึก ความคิดและปฏิบัติการในชีวิตประจำวันของพวกเขา การมีสถานภาพเป็นแรงงานผิดกฎหมายไทย ส่งผลทำให้กลุ่มตัวอย่างต้องเผชิญกับการขูดรีด เอารัดเอาเปรียบและการถูกเลือกปฏิบัติในพื้นที่ทำงาน การถูกกระทำความรุนแรงทางร่างกายและทางวาจา การถูกล่วงละเมิดทางเพศ ความเจ็บป่วยที่เกิดจากการทำงานและ การเข้าไม่ถึงบริการสุขภาพ ความหวาดกลัวจากการถูกจับกุมและส่งตัวกลับ ในขณะเดียวกันกลุ่มตัวอย่าง ก็สามารถสร้างปฏิบัติการที่มีความหลากหลายเพื่อจัดการความทุกข์ยากของตนเอง ผลการศึกษาเสนอให้หน่วยงาน ภาครัฐที่เกี่ยวข้องควรยอมรับความต้องการจ้างงานที่แท้จริงของนายจ้าง และควรปรับระบบการจ้างแรงงานข้ามชาติให้มีความละเอียดอ่อนและเหมาะสมเพื่อทำให้แรงงานผิดกฎหมายไทยสามารถเข้าถึง การจ้างงานของรัฐได้มากขึ้น
Description
Social Sciences and Health (Mahidol University 2019)
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
Faculty of Social Sciences and Humanities
Degree Discipline
Social Sciences and Health
Degree Grantor(s)
Mahidol University