Microvascularization of the midbrain in common tree shrew (Tupaia glis)
Issued Date
2000
Copyright Date
2000
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xvi, 100 leaves : ill. (col.)
ISBN
9746641395
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Anatomy))--Mahidol University, 2000
Suggested Citation
Churairat Duangchan Microvascularization of the midbrain in common tree shrew (Tupaia glis). Thesis (M.Sc. (Anatomy))--Mahidol University, 2000. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/94577
Title
Microvascularization of the midbrain in common tree shrew (Tupaia glis)
Alternative Title(s)
การศึกษาโครงหลอดเลือดโดยละเอียดของสมองส่วนกลางในกระแต
Author(s)
Abstract
The study of the midbrain in the common tree shrew (Tupaia glis) with vascular corrosion cast under a stereomicroscope and a scanning electron microscope (SEM) reveals that the midbrain is supplied by the branches of the vertebrobasilar system which are the basilar artery bifurcation, posterior cerebral, superior cerebellar, medial posterior choroidal and collicular arteries. They give off the penetrating arteries which radially course into the internal part of the midbrain and reach the cerebral aqueduct. This is the centripetal arrangement. The internal artery of the midbrain is divided into anteromedial, anterolateral, lateral and posterior groups according to the points of entry and territories that they supply. The penetrating arterioles terminate as capillary networks. The degree of capillary density in the midbrain is closely related the density of the nerve cells that accumulate in the areas of the midbrain nuclei. Less vascularity is obvious in the areas occupied by nerve fibers. The arterial anastomoses could be observed in the perimesencephalic or external part of the midbrain. The midbrain capillaries are without fenestrations. The venous drainage in the midbrain could be divided into three groups. The venous blood from the area ventral to the cerebral aqueduct drains into the tributaries of the veins of the anterior or petrosal group. The posterior group collects the venous blood from the collicular vein and the superficial vein of the quadrigeminal plate. The superior or galenic group receives the blood from the thalamocollicular, the lateral and dorsal aqueductal veins that empty the venous blood into the great cerebral vein of Galen, rectus sinus. Finally, the venous blood from both rectus and superior petrosal sinuses drain mainly into the external jugular vein and some into the internal jugular vein.
การศึกษาโครงหลอดเลือดโดยละเอียดของสมองส่วนกลางในกระแต ด้วยเทคนิค vascular corrosion cast ภายใต้กล้องจุลทรรศน์และจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด พบว่าสมองส่วนกลางได้รับ เลือดจากแขนงของ vertebrobasilar system ซึ่งได้แก่ basilar artery bifurcation, posterior cerebral, superior cerebellar, medial posterior choroidal และ collicular arteries ซึ่งจะให้แขนงแทงทะลุเนื้อเยื่อของสมองส่วนกลาง ในแนวรัศมีพุ่งเข้าสู่ cerebral aqueduct หลอดเลือดที่เลี้ยงเนื้อเยื่อภายในของสมองส่วนกลางสามารถแบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม โดยอาศัย จุดที่หลอดเลือดแตกแขนงเข้าสู่ภายในและขอบเขตที่ส่งแขนงไปเลี้ยง ซึ่งได้แก่ anteromedial, anterolateral, lateral และ posterior หลอดเลือดแดงเหล่านี้จะแตกแขนงเป็นหลอดเลือดแดง ขนาดเล็กๆ และค่อยๆ ลดขนาดลง จนในที่สุดจะให้เป็นร่างแหของหลอดเลือดฝอย ซึ่งหนาแน่นใน บริเวณที่เป็นกลุ่มของเซลล์ประสาทของสมองส่วนกลาง และมีความหนาแน่นน้อยในบริเวณที่เป็น เส้นใยประสาท ลักษณะของการเชื่อมติดต่อกันของหลอดเลือดแดงจะพบได้เฉพาะบริเวณผิวของสมอง ส่วนกลางเท่านั้น และพบว่าหลอดเลือดฝอยในสมองส่วนกลางเป็นชนิดไม่มีรูพรุนที่ผนังหลอด เลือด หลอดเลือดฝอยเหล่านี้จะรวบรวมเลือดดำเข้าสู่หลอดเลือดดำขนาดเล็ก เพื่อนำเลือดออก จากสมองส่วนกลาง ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ บริเวณที่อยู่หน้าต่อ cerebral aqueduct ไหลกลับเข้าสู่หลอดเลือดดำในกลุ่ม anterior หรือ petrosal เลือดดำจากบริเวณ tectum จะ ไหลเข้าสู่ collicular vein และส่งเลือดดำต่อไปยัง rectus sinus ซึ่งเป็น posterior group กลุ่มสุดท้ายคือ กลุ่ม superior หรือ galenic รับเลือดจาก thalamocollicular, lateral และ posterior aqueductal veins ไหลเข้าสู่ great cerebral vein of Galen และ ส่งต่อไปยัง rectus sinus ในที่สุดเลือดดำจากทั้ง rectus sinus และจากกลุ่ม petrosal จะไหลเข้าสู่ transverse sinus เพื่อนำเลือดดำออกสู่ external jugular vein เป็นส่วน ใหญ่และส่วนน้อยจะออกทาง internal jugular vein
การศึกษาโครงหลอดเลือดโดยละเอียดของสมองส่วนกลางในกระแต ด้วยเทคนิค vascular corrosion cast ภายใต้กล้องจุลทรรศน์และจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด พบว่าสมองส่วนกลางได้รับ เลือดจากแขนงของ vertebrobasilar system ซึ่งได้แก่ basilar artery bifurcation, posterior cerebral, superior cerebellar, medial posterior choroidal และ collicular arteries ซึ่งจะให้แขนงแทงทะลุเนื้อเยื่อของสมองส่วนกลาง ในแนวรัศมีพุ่งเข้าสู่ cerebral aqueduct หลอดเลือดที่เลี้ยงเนื้อเยื่อภายในของสมองส่วนกลางสามารถแบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม โดยอาศัย จุดที่หลอดเลือดแตกแขนงเข้าสู่ภายในและขอบเขตที่ส่งแขนงไปเลี้ยง ซึ่งได้แก่ anteromedial, anterolateral, lateral และ posterior หลอดเลือดแดงเหล่านี้จะแตกแขนงเป็นหลอดเลือดแดง ขนาดเล็กๆ และค่อยๆ ลดขนาดลง จนในที่สุดจะให้เป็นร่างแหของหลอดเลือดฝอย ซึ่งหนาแน่นใน บริเวณที่เป็นกลุ่มของเซลล์ประสาทของสมองส่วนกลาง และมีความหนาแน่นน้อยในบริเวณที่เป็น เส้นใยประสาท ลักษณะของการเชื่อมติดต่อกันของหลอดเลือดแดงจะพบได้เฉพาะบริเวณผิวของสมอง ส่วนกลางเท่านั้น และพบว่าหลอดเลือดฝอยในสมองส่วนกลางเป็นชนิดไม่มีรูพรุนที่ผนังหลอด เลือด หลอดเลือดฝอยเหล่านี้จะรวบรวมเลือดดำเข้าสู่หลอดเลือดดำขนาดเล็ก เพื่อนำเลือดออก จากสมองส่วนกลาง ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ บริเวณที่อยู่หน้าต่อ cerebral aqueduct ไหลกลับเข้าสู่หลอดเลือดดำในกลุ่ม anterior หรือ petrosal เลือดดำจากบริเวณ tectum จะ ไหลเข้าสู่ collicular vein และส่งเลือดดำต่อไปยัง rectus sinus ซึ่งเป็น posterior group กลุ่มสุดท้ายคือ กลุ่ม superior หรือ galenic รับเลือดจาก thalamocollicular, lateral และ posterior aqueductal veins ไหลเข้าสู่ great cerebral vein of Galen และ ส่งต่อไปยัง rectus sinus ในที่สุดเลือดดำจากทั้ง rectus sinus และจากกลุ่ม petrosal จะไหลเข้าสู่ transverse sinus เพื่อนำเลือดดำออกสู่ external jugular vein เป็นส่วน ใหญ่และส่วนน้อยจะออกทาง internal jugular vein
Description
Anatomy (Mahidol University 2000)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Science
Degree Discipline
Anatomy
Degree Grantor(s)
Mahidol University