Factors predicting clinical outcomes in patients sustaining road traffic injury during the emergency phase
dc.contributor.advisor | Orapan Thosingha | |
dc.contributor.advisor | Suporn Danaidutsadeekul | |
dc.contributor.advisor | Chukiat Viwatwongkasem | |
dc.contributor.author | Petcharat Eiamla-or | |
dc.date.accessioned | 2024-01-10T05:36:59Z | |
dc.date.available | 2024-01-10T05:36:59Z | |
dc.date.copyright | 2017 | |
dc.date.created | 2017 | |
dc.date.issued | 2024 | |
dc.description | Nursing (Mahidol University 2017) | |
dc.description.abstract | The purpose of this study was to examine the factors predicting clinical outcomes in patients sustaining road traffic injury at emergency department (ED) and before hospital discharge. A cohort study research design was conducted at 12 hospitals in the Bangkok Metropolitan and the central region of Thailand. The sample comprised of 520 trauma patients and 157 triage nurses. Data were collected using questionnaire from April, 2016 to March, 2017. Descriptive statistics and logistic regressions were employed for data analysis. The results revealed that majority of patients (74.6%) had accident on the main road, using motorbike (81.15%), and was a rider or driver (70.77%). Around half of them used the motor vehicle with expired motor compulsory insurance. Around 75% did not wear any safety equipment protection, and 64% drank alcohol before driving. More than a half (54.6%) was classified into Emergency Severity Index (ESI) level I. The majority of injured body region was head (72.31%) and extremities (60.58%); 59.2% had Injury severity Scores (ISS) ranged from 25-49.). Probability of survival scores was 85.8%. On ED arrival, there were 208 patients (40%) who were in shock stage. At ED discharge, 41.35% recovered from shock, but 51.92% were still in shock, and 6.73% died. At emergency department discharged, 62.9% of them were not in shock stage, 33.8% demonstrated shock, and 3.3% died.On scene care and severity of injuries can explain the clinical outcomes at emergency department discharged at 4.8%. At the phase before hospital discharge, 9.8% were discharged from the hospital with permanent disability, and 65.2% still had at least 1 organ dysfunction. There were 24.2% of patients who died during hospital stay. The finding also indicated that on scene care, severity of injuries, patient's age, having valid motor vehicle compulsory insurance and MSI at emergency department discharged, can explain clinical outcomes before hospital discharge at 25.6%. Patients who were transferred from the scene by advanced ambulances showed the odd of survival rate 2.076 times higher (95% Cl, 1.215-3.545; p=.007) than those who were transferred by the foundation's van, personal pick up van or taxi. It is recommended that patients with severe road traffic injury should receive effective on scene management and being transferred by an advanced ambulance. Modified Shock Index should be utilized as a standard scoring system for patients with severe injuries. In order to improve clinical outcomes, prevent permanent disability and decrease mortality among patients with severe injuries, hemodynamic status should be monitored and managed throughout their hospital stay. | |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบสังเกตเชิงพรรณนา มีจุดประสงค์เพื่อหาปัจจัยทำนายผลลัพธ์ทางคลินิกในระยะฉุกเฉินของผู้บาดเจ็บจากการจราจรทางบก และติดตามผลลัพธ์จากการรักษาจนกว่าผู้บาดเจ็บกลับบ้าน, เสียชีวิต หรือ ระยะเวลาการวิจัยสิ้นสุด ในโรงพยาบาลศูนย์ 12 แห่ง ในเขตกรุงเทพและปริมณฑล โดยศึกษากลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม คือ ผู้ป่วยอุบัติเหตุจากการจราจรทางบกจำนวน 520 ราย และพยาบาลวิชาชีพที่ทำหน้าที่คัดแยกผู้บาดเจ็บจำนวน 157 ราย โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลตั้งแต่เดือน เมษายน 2559-มีนาคม 2560 มีการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนาและ สถิติการวิเคราะห์ถดถอยโลจิสติกจัดอันดับ ผลการศึกษาพบว่า ผู้บาดเจ็บร้อยละ 74.6 เกิดอุบัติเหตุบนถนนสายหลัก ใช้จักรยานยนต์เป็นยานพาหนะ ร้อยละ 81.15 และเป็นผู้ขับขี่ร้อยละ 70.77 ประมาณร้อยละ 50 เป็นรถที่ไม่มีพรบ. ร้อยละ 75 ไม่สวมอุปกรณ์ป้องกันความ ปลอดภัยและร้อยละ 64 ดื่มเครื่องดื่มที่ผสมแอลกอฮอล์ก่อนขับรถ เมื่อถึงโรงพยาบาล ร้อยละ 54.6 ได้รับการคัดแยกความ รุนแรงของการบาดเจ็บอยู่ในระดับ 1 ร้อยละ 72.31 มีการบาดเจ็บที่ศีรษะ ร้อยละ 60.58 มีการบาดเจ็บของแขนและขา ร้อยละ 59.2 มีระดับความรุนแรงของการบาดเจ็บอยู่ระหว่าค่ะคะแนน 25-49 ค่าโอกาสรอดชีวิตเมื่อแรกรับร้อยละ 85.8 ผลลัพธ์ทางคลินิกก่อนออกจากห้องฉุกเฉินของผู้บาดเจ็บพบว่า ผู้บาดเจ็บ 208 คน (ร้อยละ 40) ที่แสดง อาการภาวะช็อกเมื่อแรกรับที่ห้องฉุกเฉิน ร้อยละ 41.35 พ้นจากภาวะช็อก ร้อยละ 51.92 ยังคงมีภาวะช็อก และเสียชีวิตร้อย ละ 6.73 ผลลัพธ์ทางคลินิกก่อนออกจากห้องฉุกเฉินของผู้บาดเจ็บ 520 คน พบว่า ร้อยละ 62.9 ของผู้บาดเจ็บไม่มีอาการ ช็อก ขณะที่ ร้อยละ 33.8 มีอาการช็อก และร้อยละ 3.3 เสียชีวิต นอกจากนี้การให้การช่วยเหลือ ณ จุดเกิดเหตุ และความรุนแรงของการบาดเจ็บ สามารถร่วมกันทำนายผลลัพธ์ทางคลินิกก่อนออกจากห้องฉุกเฉินของผู้บาดเจ็บจากการจราจรทางบกได้ร้อยละ 4.8 ผลลัพธ์ทางคลินิกก่อนออกจากโรงพยาบาล พบว่า ร้อยละ 9.8 มีความพิการถาวร ขณะที่ร้อยละ 65.2 ยังคงหลงเหลือการบาดเจ็บอย่างน้อย 1 แห่งขณะกลับบ้าน มีร้อยละ 24.2 เสียชีวิตขณะรับการรักษาในโรงพยาบาล ผลการศึกษายังพบว่า การให้การช่วยเหลือ ณ จุดเกิดเหตุ ความรุนแรงของการบาดเจ็บ อายุของผู้ได้รับบาดเจ็บ พรบ. และ ภาวะช็อกหลังได้รับการรักษาในห้องฉุกเฉิน สามารถร่วมกันทำนายผลลัพธ์ทางคลินิกก่อนออกจากโรงพยาบาลของผู้บาดเจ็บจากการจราจรทางบกได้ร้อยละ 25.6 นอกจากนี้ ผู้บาดเจ็บที่ได้รับการเคลื่อนย้ายโดยรถพยาบาลขั้นสูงมีโอกาสในการรอดชีวิตมากกว่า 2.076 เท่าเมื่อเทียบกับการเคลื่อนย้ายโดยรถกู้ชีพพื้นฐาน, รถบิ๊กอัพ หรือแท็กซี่ ผลการศึกษาครั้งนี้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยที่สามารถอธิบายผลลัพธ์ทางคลินิกของผู้บาดเจ็บจากการจราจรทางบก ข้อเสนอแนะ ผู้บาดเจ็บรุนแรงควรได้รับการดูแลเบื้องต้นตั้งแต่จุดเกิดเหตุและควรได้รับการเคลื่อนย้ายโดยรถพยาบาลขั้นสูง ควรนำดรรชนีแสดงภาวะช็อกฉบับปรับปรุง (Modified Shock Index, MSI) มาใช้เป็นมาตรฐานในการประเมินผู้บาดเจ็บรุนแรงจากการจราจรทางบกทุกราย เพื่อให้ผลลัพธ์ทางคลินิกดีขึ้น พิการถาวรและอัตราการเสียชีวิตลดลงผู้บาดเจ็บจากการจราจรทางบกควรได้รับการบันทึกสัญญาณชีพอย่างใกล้ชิดและตลอดระยะเวลา. | |
dc.format.extent | x, 212 leaves ill. | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier.citation | Thesis (Ph.D. (Nursing))--Mahidol University, 2017 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92245 | |
dc.language.iso | eng | |
dc.publisher | Mahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center | |
dc.rights | ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า | |
dc.rights.holder | Mahidol University | |
dc.subject | Riots | |
dc.subject | Traffic accidents -- Mathematical models | |
dc.title | Factors predicting clinical outcomes in patients sustaining road traffic injury during the emergency phase | |
dc.title.alternative | ปัจจัยที่สามารถทำนายผลลัพธ์ในระยะฉุกเฉินของผู้บาดเจ็บจากการจราจรทางบก | |
dc.type | Doctoral Thesis | |
dcterms.accessRights | open access | |
mods.location.url | http://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2562/554/5637905.pdf | |
thesis.degree.department | Faculty of Nursing | |
thesis.degree.discipline | Nursing | |
thesis.degree.grantor | Mahidol University | |
thesis.degree.level | Doctoral Degree | |
thesis.degree.name | Doctor of Philosophy |