The resiliency of community based food security management system : a case study of Ban Maerawan, Yokkrabutr subdistrict, Sam-ngao district, Tak province
Issued Date
2014
Copyright Date
2014
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ix, 161 leaves : ill. (some col.)
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Technology of Environmental Management))--Mahidol University, 2014
Suggested Citation
Natcha Sornhiran The resiliency of community based food security management system : a case study of Ban Maerawan, Yokkrabutr subdistrict, Sam-ngao district, Tak province. Thesis (M.Sc. (Technology of Environmental Management))--Mahidol University, 2014. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/95169
Title
The resiliency of community based food security management system : a case study of Ban Maerawan, Yokkrabutr subdistrict, Sam-ngao district, Tak province
Alternative Title(s)
ความสามารถในการฟื้นตัวของระบบการจัดการความมั่นคงทางอาหารของชุมชน กรณีศึกษาบ้านแม่ระวาน ตำบลยกกระบัตร อำเภอสามเงา จังหวัดตาก
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
The aims of this study were 1) to analyze the characteristics of resiliency of community food security, 2) to analyze factors that affect household and community food security and 3) to develop a conceptual framework of community food security management. This research applied qualitative and quantitative approaches, collected data using a questionnaire, in-depth interviewing, and a focus group discussion. The Statistical Package for Social Science was used to analyze the data. The study found that the study area is located in an area at risk of seasonal drought and flooding with severe and frequent incidents of crises. Hence, the community has developed a number of ways to cope with the crises, which include appropriate resource utilization in each season, water management, forest and land use management, as well as socio-economic livelihood adaptation. The factors affecting current household food security in a direct way consisted of number of household occupations, planting diversified types of plants, diversification of food resources, knowledge of wild mushrooms and animal collection from the community forest, main occupation of household being agriculture, settlement periods, and practice of organic agricultural farming. Finally, the conceptual framework of the resiliency of the community-based food security management system was proposed according to the observations and conclusions made from the collected primary data, which describes operations of households, the community, and government offices
การศึกษาความสามารถในการฟื้นตัวของระบบการจัดการความมั่นคงทางอาหารของชุมชน กรณีศึกษา บ้านแม่ระวาน ตำบลยกกระบัตร อำเภอสามเงา จังหวัดตาก เป็นการศึกษาการจัดการความมั่นคงทางอาหารของชุมชน มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ลักษณะการฟื้นตัวของระบบการจัดการความมั่นคงทางอาหาร วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความมั่นคงทางอาหารชุมชน และพัฒนาแผนภาพความคิดของการจัดการความมั่นคงทางอาหารของชุมชน โดยใช้วิธีการเชิงคุณภาพและปริมาณ รวบรวมข้อมูลทุติยภูมิด้านภูมิศาสตร์และภูมิอากาศของพื้นที่ และข้อมูลปฐมภูมิ ด้วยแบบสอบถาม การสัมภาษณ์เชิงลึก และ จัดสนทนากลุ่ม นำข้อมูลมาวิเคราะห์ด้วยการพรรณนา ใช้แผนภาพและตารางประกอบ และใช้เครื่องมือทางสถิติ (Statistical Package for Social Science) พบว่าชุมชนประสบปัญหาความมั่นคงทางอาหารจากความแห้งแล้งและอุทกภัยซ้ำซาก และชุมชนจัดการกับปัญหาดังกล่าวโดย การใช้ประโยชน์ทรัพยากรอาหารอย่างเหมาะสมตามฤดูกาล การจัดการน้ำ การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้และการจัดการการใช้ประโยชน์ที่ดิน และการจัดการเศรษฐกิจสังคม ปัจจัยภายในของครัวเรือนที่ส่งผลต่อความมั่นคงทางอาหาร ได้แก่ จำนวนอาชีพ การปลูกพืชหลากหลาย การพึ่งพาแหล่งอาหารหลากหลาย การมีความรู้ในการเก็บหาเห็ดและสัตว์จากป่าชุมชน การประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นอาชีพหลัก จำนวนปีที่ตั้งถิ่นฐาน และการเลี้ยงสัตว์แบบปลอดสารเคมี โดยทุกปัจจัยส่งผลต่อความมั่นคงทางอาหารแบบแปรผันตรง ผลการศึกษาทั้งหมดสามารถสรุปในรูปแบบแผนภาพความคิดลักษณะการฟื้นตัวของระบบการจัดการความมั่นคงทางอาหารของชุมชนซึ่งประกอบด้วยปัจจัยของ ครัวเรือน ชุมชน และหน่วยงานราชการ ที่ส่งเสริมให้เกิดความสำเร็จในการจัดการความมั่นคงทางอาหารของชุมชน ที่ได้ค้นพบจากงานวิจัยครั้งนี้
การศึกษาความสามารถในการฟื้นตัวของระบบการจัดการความมั่นคงทางอาหารของชุมชน กรณีศึกษา บ้านแม่ระวาน ตำบลยกกระบัตร อำเภอสามเงา จังหวัดตาก เป็นการศึกษาการจัดการความมั่นคงทางอาหารของชุมชน มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ลักษณะการฟื้นตัวของระบบการจัดการความมั่นคงทางอาหาร วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความมั่นคงทางอาหารชุมชน และพัฒนาแผนภาพความคิดของการจัดการความมั่นคงทางอาหารของชุมชน โดยใช้วิธีการเชิงคุณภาพและปริมาณ รวบรวมข้อมูลทุติยภูมิด้านภูมิศาสตร์และภูมิอากาศของพื้นที่ และข้อมูลปฐมภูมิ ด้วยแบบสอบถาม การสัมภาษณ์เชิงลึก และ จัดสนทนากลุ่ม นำข้อมูลมาวิเคราะห์ด้วยการพรรณนา ใช้แผนภาพและตารางประกอบ และใช้เครื่องมือทางสถิติ (Statistical Package for Social Science) พบว่าชุมชนประสบปัญหาความมั่นคงทางอาหารจากความแห้งแล้งและอุทกภัยซ้ำซาก และชุมชนจัดการกับปัญหาดังกล่าวโดย การใช้ประโยชน์ทรัพยากรอาหารอย่างเหมาะสมตามฤดูกาล การจัดการน้ำ การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้และการจัดการการใช้ประโยชน์ที่ดิน และการจัดการเศรษฐกิจสังคม ปัจจัยภายในของครัวเรือนที่ส่งผลต่อความมั่นคงทางอาหาร ได้แก่ จำนวนอาชีพ การปลูกพืชหลากหลาย การพึ่งพาแหล่งอาหารหลากหลาย การมีความรู้ในการเก็บหาเห็ดและสัตว์จากป่าชุมชน การประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นอาชีพหลัก จำนวนปีที่ตั้งถิ่นฐาน และการเลี้ยงสัตว์แบบปลอดสารเคมี โดยทุกปัจจัยส่งผลต่อความมั่นคงทางอาหารแบบแปรผันตรง ผลการศึกษาทั้งหมดสามารถสรุปในรูปแบบแผนภาพความคิดลักษณะการฟื้นตัวของระบบการจัดการความมั่นคงทางอาหารของชุมชนซึ่งประกอบด้วยปัจจัยของ ครัวเรือน ชุมชน และหน่วยงานราชการ ที่ส่งเสริมให้เกิดความสำเร็จในการจัดการความมั่นคงทางอาหารของชุมชน ที่ได้ค้นพบจากงานวิจัยครั้งนี้
Description
Technology of Environmental Management (Mahidol University 2014)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Environment and Resource Studies
Degree Discipline
Technology of Environmental Management
Degree Grantor(s)
Mahidol University