Software package selection framework by using decision tree model : a case study of oracle's peoplesoft enterprise HCM
Issued Date
2015
Copyright Date
2015
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
x ,45 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thematic Paper (M.Sc. (Information Technology Management))--Mahidol University, 2015
Suggested Citation
Bussara Ketpradit Software package selection framework by using decision tree model : a case study of oracle's peoplesoft enterprise HCM. Thematic Paper (M.Sc. (Information Technology Management))--Mahidol University, 2015. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/94058
Title
Software package selection framework by using decision tree model : a case study of oracle's peoplesoft enterprise HCM
Alternative Title(s)
การจัดการกรอบการเลือกรูปแบบของซอฟต์แวร์โดยใช้โมเดลต้นไม้ตัดสินใจ : กรณีศึกษาของผลิตภัณฑ์ Oracle's PeopleSoft Enterprise HCM
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
This research arises from the problem of the product of Oracle PeopleSoft HCM. The product consists of modules that cover HR works and are available for all sizes of organizations. However, this product is big and expensive overall. Consequently, some organizations decided to use the cheaper and smaller products. It demonstrates that the product lacks opportunity to be sold in some organizations by either the product owner or outsourcing company. This research gives a dual model framework. First, The Firm's Resource Model defines the package by 2 factors, given as: the number of employees and the budget per head. The second model is the HCM Module Model. This package is defined by only one factor, which is the desired module of company. The experimental results show that the framework could reduce the operation time for the package selection compared to the traditional model. The salesperson can use this framework to represent their customer by providing the suitable suggestion/package. The product can be sold easily and quickly. Moreover, the customers are able to choose their own packages based on the three factors; the number of employees, the budget per head, and the desired module of company.
การศึกษาเรื่องการจัดการกรอบการเลือกรูปแบบของซอฟต์แวร์โดยใช้อัลกอริทึ่มต้นไม้ตัดสินใจ : กรณีศึกษาของผลิตภัณฑ์ Oracle's PeopleSoft Enterprise HCM เกิดขึ้นจากผลิตภัณฑ์ Oracle PeopleSoft HCM ที่มีขนาดใหญ่ และมีฟังก์ชั่นการทำงานของระบบที่ครอบคลุมกระบวนการทำงานทางธุรกิจของระบบงานการจัดการทรัพยากรบุคคล แต่จากที่กล่าวมา บางองค์กรมีมุมมองกับผลิตภัณฑ์ว่ามีราคาแพงและไม่เหมาะสมกับขนาดของธุรกิจขององค์กร ส่งผลให้บริษัทผู้ผลิตและบริษัทรับพัฒนาผลิตภัณฑ์ขาดโอกาสในการขาย รวมถึงยังขาดความเข้าใจในการกำหนดงบประมาณในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การวิจัยนี้ได้สร้างกรอบมาตรฐานของผลิตภัณฑ์ออกมาในรูปแบบของแบบจำลองคู่ที่ช่วยในการตัดสินใจเลือกรูปแบบซอฟต์แวร์โดยใช้ปัจจัยหลักสามอย่างได้แก่ จำนวนพนักงานงบประมาณการพัฒนาผลิตภัณฑ์ต่อพนักงาน 1 คน และ โมดูลงานที่องค์กรต้องการ ซึ่งผลการวิจัยครั้งนี้ แสดงให้เห็นว่า ในแบบจำลองแรก The Firm's Resource Model มีความแม่นยำที่ 86.67 เปอร์เซ็นต์ และ แบบจำลองที่สอง The HCM Module Model มีความแม่นยำที่ 100 เปอร์เซ็นต์ โดยผลของงานวิจัยนี้ช่วยในเรื่องการลดเวลาการเลือกชุดรูปแบบซอฟต์แวร์เมื่อเทียบกับการแบบจำลองแบบเก่า ผู้ขายผลิตภัณฑ์สามารถใช้กรอบมาตรฐานนี้ในการนำเสนอลูกค้าและให้คำแนะนำที่เหมาะสมกับธุรกิจ รวมถึงช่วยให้สามารถขายผลิตภัณฑ์ได้ง่ายและเร็วขึ้น และในส่วนลูกค้าสามารถเลือกผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสมกับองค์กรได้ด้วยตนเอง
การศึกษาเรื่องการจัดการกรอบการเลือกรูปแบบของซอฟต์แวร์โดยใช้อัลกอริทึ่มต้นไม้ตัดสินใจ : กรณีศึกษาของผลิตภัณฑ์ Oracle's PeopleSoft Enterprise HCM เกิดขึ้นจากผลิตภัณฑ์ Oracle PeopleSoft HCM ที่มีขนาดใหญ่ และมีฟังก์ชั่นการทำงานของระบบที่ครอบคลุมกระบวนการทำงานทางธุรกิจของระบบงานการจัดการทรัพยากรบุคคล แต่จากที่กล่าวมา บางองค์กรมีมุมมองกับผลิตภัณฑ์ว่ามีราคาแพงและไม่เหมาะสมกับขนาดของธุรกิจขององค์กร ส่งผลให้บริษัทผู้ผลิตและบริษัทรับพัฒนาผลิตภัณฑ์ขาดโอกาสในการขาย รวมถึงยังขาดความเข้าใจในการกำหนดงบประมาณในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การวิจัยนี้ได้สร้างกรอบมาตรฐานของผลิตภัณฑ์ออกมาในรูปแบบของแบบจำลองคู่ที่ช่วยในการตัดสินใจเลือกรูปแบบซอฟต์แวร์โดยใช้ปัจจัยหลักสามอย่างได้แก่ จำนวนพนักงานงบประมาณการพัฒนาผลิตภัณฑ์ต่อพนักงาน 1 คน และ โมดูลงานที่องค์กรต้องการ ซึ่งผลการวิจัยครั้งนี้ แสดงให้เห็นว่า ในแบบจำลองแรก The Firm's Resource Model มีความแม่นยำที่ 86.67 เปอร์เซ็นต์ และ แบบจำลองที่สอง The HCM Module Model มีความแม่นยำที่ 100 เปอร์เซ็นต์ โดยผลของงานวิจัยนี้ช่วยในเรื่องการลดเวลาการเลือกชุดรูปแบบซอฟต์แวร์เมื่อเทียบกับการแบบจำลองแบบเก่า ผู้ขายผลิตภัณฑ์สามารถใช้กรอบมาตรฐานนี้ในการนำเสนอลูกค้าและให้คำแนะนำที่เหมาะสมกับธุรกิจ รวมถึงช่วยให้สามารถขายผลิตภัณฑ์ได้ง่ายและเร็วขึ้น และในส่วนลูกค้าสามารถเลือกผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสมกับองค์กรได้ด้วยตนเอง
Description
Information Technology Management (Mahidol University 2015)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Engineering
Degree Discipline
Information Technology Management
Degree Grantor(s)
Mahidol University