Development of Multiplex PCR for detection of methicillin resistance and MLSB resistance genes in Staphylococcus aureus
Issued Date
2015
Copyright Date
2015
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xii, 67 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Clinical Pathology))--Mahidol University, 2015
Suggested Citation
Netiluk Tantavutt Development of Multiplex PCR for detection of methicillin resistance and MLSB resistance genes in Staphylococcus aureus. Thesis (M.Sc. (Clinical Pathology))--Mahidol University, 2015. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/94103
Title
Development of Multiplex PCR for detection of methicillin resistance and MLSB resistance genes in Staphylococcus aureus
Alternative Title(s)
การพัฒนาชุดการตรวจวิเคราะห์เชื้อ Staphylococcus aureus ที่ดื้อต่อยา Methicillin และยีนดื้อยา MLSB โดยวิธี Multiplex PCR
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
Nosocomial infection caused by multidrug resistant staphylococci such as methicillin or macrolide-lincosamide-streptogramins B (MLSB) resistance is a growing problem for many health care institutions. Of all species of staphylococci, Staphylococcus aureus (S. aureus) has the greatest pathogenic potential. Methicillin-resistant Staphylococcus aureus (MRSA) infections are associated with increased morbidity and mortality. Rapid identification of the organism as well as drug resistance is crucial for infected patients. Therefore, in this study, a new multiplex PCR for identification of S. aureus and detection of certain antimicrobial resistant genes was developed, in order to improve the speed of detection from suspected bacterial colonies. New specific primers of five target genes, femA (for S. aureus identification), mecA (for oxacillin or methicillin resistance), ermA, B and C (for MLSB resistance) were designed and tested against 250 clinical isolates of Staphylococcus spp. comparing with the conventional identification and susceptibility test in routine process. All five primers revealed 100% specificity to their target genes and the results showed 100% concordance with the phenotypic testings. All methicillin resistant isolates contained the mecA gene. The prevalence of the ermA, ermB and ermC genes in erythromycin resistant S aureus were 53.4%, 1.1% and 12.6% respectively while prevalence of the ermA, ermB, and ermC in coagulase negative staphylococci (CoNS) were 6.6%, 1.3%, and 46.1% respectively . In contrast to S. aureus, the ermC was found to be predominated among erythromycin resistant CoNS isolates. With this specific multiplex PCR, the identification of S. aureus and CoNS as well as two groups of most important resistant genes could be performed rapidly and reduced approximately 24 hr of turnaround time comparing to the routine process.
การติดเชื้อในโรงพยาบาลโดยเชื้อกลุ่ม Staphylococci ที่ดื้อยาหลายขนานเช่น Methicillin หรือ macrolide-lincosamide-streptograminsB (MLSB) เป็นปัญหาที่เพิ่มขึ้นในสถานพยาบาลจํานวนมาก โดยในบรรดา สายพันธุ์ของ Staphylococci ทั้งหมด Staphylococcus aureus (S. aureus) มีความสามารถในการก่อโรคได้มากที่สุด การติดเชื้อกลุ่ม Methicillin-resistant Staphylococcus aureus (MRSA) ก่อให้เกิดพยาธิสภาพและอัตราการ เสียชีวิตที่สูง การตรวจวินิจฉัยเชื้อและการทราบการดื้อยาที่รวดเร็วจึงมีความสําคัญต่อผู้ป่วยเป็นอย่างมาก ดังนั้น การศึกษานี้จึงได้พัฒนาการตรวจเพื่อหาเชื้อ S. aureus และ ยีนดื้อยาของเชื้อดังกล่าวโดยวิธี Multiplex PCR เพื่อให้ เกิดความรวดเร็วยิ่งขึนในการตรวจวิเคราะห์จากโคโลนีของเชื้อที่เพาะเลี้ยงได้ การทดสอบนี้ใช้ Primer ที่จําเพาะต่อยีนเป้าหมายจํานวน 5 ยีน ได้แก่ femA (สําหรับการวิเคราะห์ S. aureus), mecA (สําหรับวิเคราะห์ยีนดื้อยา oxacillin หรือ methicillin), ermA, B และ C (สําหรับวิเคราะห์ยินดื้อยา MLSB) การทดสอบได้ใช้เชื้อ Staphylococcus Spp. จากตัวอย่างผู้ป่วยจํานวน 250 ตัวอย่าง เปรียบเทียบผลกับการตรวจวิเคราะห์โดยวิธีเพาะเชื้อ และการทดสอบความไวต่อยาในงานประจําของห้องปฏิบัติการซึ่งจากการทดลองพบว่า ทั้ง 5 primers ที่สร้างขึ้น มีความจําเพาะต่อยีนเป้าหมาย และแสดงผลไปในทิศทางเดียวกับการวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ 100% เชื้อที่ที่มี การดื้อยา methicillin ทั้งหมด สามารถตรวจพบยีน mecA นอกจากนี้เชื้อ S. aureus ที่ดื้อยา erythromycin ตรวจพบ ยีนดื้อยาได้แก่ ermA, ermB ermC จํานวน 53.4%, 1.1% และ 12.6% ตามลําดับ ในขณะที่เชื้อ กลุ่ม coagulase negative staphylococci (CoNS) ตรวจพบเฉพาะยีน ermA 6.6%, ermB 1.3%, and ermC 46.1% โดยตรวจพบยีน ermC มากที่สุด และด้วยวิธี Multiplex PCR ที่พัฒนาขึ้นใหม่นี้ทําให้สามารถลดเวลาของการตรวจวิเคราะห์ S. aureus และ CoNS ลงได้ประมาณ 24 ชั่วโมง เมื่อเทียบกับการตรวจวิเคราะห์โดยการเพาะเชื้อและทดสอบความไว ต่อยาทางห้องปฏิบัติการในปัจจุบัน
การติดเชื้อในโรงพยาบาลโดยเชื้อกลุ่ม Staphylococci ที่ดื้อยาหลายขนานเช่น Methicillin หรือ macrolide-lincosamide-streptograminsB (MLSB) เป็นปัญหาที่เพิ่มขึ้นในสถานพยาบาลจํานวนมาก โดยในบรรดา สายพันธุ์ของ Staphylococci ทั้งหมด Staphylococcus aureus (S. aureus) มีความสามารถในการก่อโรคได้มากที่สุด การติดเชื้อกลุ่ม Methicillin-resistant Staphylococcus aureus (MRSA) ก่อให้เกิดพยาธิสภาพและอัตราการ เสียชีวิตที่สูง การตรวจวินิจฉัยเชื้อและการทราบการดื้อยาที่รวดเร็วจึงมีความสําคัญต่อผู้ป่วยเป็นอย่างมาก ดังนั้น การศึกษานี้จึงได้พัฒนาการตรวจเพื่อหาเชื้อ S. aureus และ ยีนดื้อยาของเชื้อดังกล่าวโดยวิธี Multiplex PCR เพื่อให้ เกิดความรวดเร็วยิ่งขึนในการตรวจวิเคราะห์จากโคโลนีของเชื้อที่เพาะเลี้ยงได้ การทดสอบนี้ใช้ Primer ที่จําเพาะต่อยีนเป้าหมายจํานวน 5 ยีน ได้แก่ femA (สําหรับการวิเคราะห์ S. aureus), mecA (สําหรับวิเคราะห์ยีนดื้อยา oxacillin หรือ methicillin), ermA, B และ C (สําหรับวิเคราะห์ยินดื้อยา MLSB) การทดสอบได้ใช้เชื้อ Staphylococcus Spp. จากตัวอย่างผู้ป่วยจํานวน 250 ตัวอย่าง เปรียบเทียบผลกับการตรวจวิเคราะห์โดยวิธีเพาะเชื้อ และการทดสอบความไวต่อยาในงานประจําของห้องปฏิบัติการซึ่งจากการทดลองพบว่า ทั้ง 5 primers ที่สร้างขึ้น มีความจําเพาะต่อยีนเป้าหมาย และแสดงผลไปในทิศทางเดียวกับการวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ 100% เชื้อที่ที่มี การดื้อยา methicillin ทั้งหมด สามารถตรวจพบยีน mecA นอกจากนี้เชื้อ S. aureus ที่ดื้อยา erythromycin ตรวจพบ ยีนดื้อยาได้แก่ ermA, ermB ermC จํานวน 53.4%, 1.1% และ 12.6% ตามลําดับ ในขณะที่เชื้อ กลุ่ม coagulase negative staphylococci (CoNS) ตรวจพบเฉพาะยีน ermA 6.6%, ermB 1.3%, and ermC 46.1% โดยตรวจพบยีน ermC มากที่สุด และด้วยวิธี Multiplex PCR ที่พัฒนาขึ้นใหม่นี้ทําให้สามารถลดเวลาของการตรวจวิเคราะห์ S. aureus และ CoNS ลงได้ประมาณ 24 ชั่วโมง เมื่อเทียบกับการตรวจวิเคราะห์โดยการเพาะเชื้อและทดสอบความไว ต่อยาทางห้องปฏิบัติการในปัจจุบัน
Description
Clinical Pathology (Mahidol University 2015)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital
Degree Discipline
Clinical Pathology
Degree Grantor(s)
Mahidol University