Quantitative analysis of Lactobacillus and Enterococcus Faecalis in irreversible pulpitis and pulp necrosis of primary teeth
Issued Date
2024
Copyright Date
2018
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
viii, 65 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Dentistry))--Mahidol University, 2018
Suggested Citation
Wananong Watcharakirin Quantitative analysis of Lactobacillus and Enterococcus Faecalis in irreversible pulpitis and pulp necrosis of primary teeth. Thesis (M.Sc. (Dentistry))--Mahidol University, 2018. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91741
Title
Quantitative analysis of Lactobacillus and Enterococcus Faecalis in irreversible pulpitis and pulp necrosis of primary teeth
Alternative Title(s)
การวิเคราะห์ปริมาณเชื้อแลคโตบาซิลลัส และเอนเทอโรคอคคัส ฟีคาลลิส ในโรคเนื้อเยื่อในอักเสบแบบผันกลับไม่ได้และโรคของเนื้อเยื่อในตายในฟันน้ำนม
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
The objectives of this study were to quantitatively analyze and compare Lactobacillus and Enterococcus faecalis levels in infectious root canal of primary teeth between irreversible pulpitis and pulp necrosis and correlations with history of pain and clinical signs and symptoms. One-hundred and nineteen samples, seventy with irreversible pulpitis (58.82 %) and 49 with pulp necrosis (41.18%), were collected from children aged 2-10 years old who came in pediatric clinic, Mahidol University. Sample collection was performed during pulpectomy treatment and quantitative real-time PCR for bacterial detection. Mann-Whitney U test showed total bacteria, Lactobacillus and E. faecalis levels in pulp necrosis were significantly higher than those in irreversible pulpitis group with p = 0.000, 0.000 and 0.001, respectively. Only Lactobacillus levels were significant correlated with history of pain in both irreversible pulpitis and pulp necrosis by using Spearman's rank correlation coefficient (p = 0.004 and p = 0.017). In conclusion, Lactobacillus and Enterococcus faecalis were detected in infectious root canal of primary teeth, and Lactobacillus was correlated with history of pain in both irreversible pulpitis and pulp necrosis.
การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาปริมาณและเปรียบเทียบปริมาณของเชื้อแลคโตบาซิลลัส และเอนเทอโรคอคคัส ฟีคาลิสในคลองรากฟันน้ำนมที่ติดเชื้อในกลุ่มที่มีการอักเสบรุนแรงแบบผันกลับไม่ได้ และกลุ่มที่มีการตายของเนื้อเยื่อใน รวมทั้งหาความสัมพันธ์ของเชื้อดังกล่าว กับประวัติของอาการปวด อาการ และอาการแสดงทางคลินิก จากเด็กไทยช่วงอายุ 2-10 ปี จำนวน 119 คน ที่เข้ารับการรักษาที่คลินิกทันตกรรมเด็ก มหาวิทยาลัยมหิดล คิดเป็น 70 ตัวอย่าง จากคลองรากฟันน้ำนมที่มีการอักเสบรุนแรงแบบผันกลับไม่ได้ และ 49 ตัวอย่างจากคลองรากที่มีการตายของเนื้อเยื่อใน โดยการเก็บตัวอย่างจากคลองรากฟันน้ำนม ขณะทำการรักษารากฟันจากนั้นตรวจหาปริมาณเชื้อด้วยวิธีปฏิกิริยาลูกโซ่พอลิเมอเรสแบบเรียลไทม์เมื่อทดสอบด้วยสถิติการทดสอบของแมนวิทนีย์ยู ปริมาณเชื้อของแบคทีเรียทั้งหมด, แลคโตบาซิลลัส และเอนเทอโรคอคคัส ฟีคาลิส ในกลุ่มที่มีการตายของเนื้อเยื่อในมีปริมาณมากกว่ากลุ่มที่คลองรากฟันมีการอักเสบรุนแรงแบบผันกลับไม่ได้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ p = 0.000, p = 0.000 และ p = 0.001, ตามลำดับ นอกจากนี้พบว่ามีเพียงแค่ปริมาณเชื้อแลคโตบาซิลลัสที่มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ กับประวัติของอาการปวดทั้งในกลุ่มคลองรากฟันน้ำนมที่ติดเชื้อในกลุ่มที่มีการอักเสบรุนแรงแบบผันกลับไม่ได้ และกลุ่มที่มีการตายของเนื้อเยื่อใน เมื่อทดสอบด้วยสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน (p = 0.004 และ p = 0.017) สรุปผลการศึกษาพบว่า ปริมาณของเชื้อแลคโตบาซิลลัสและเอนเทอโรคอคคัส ฟีคาลิสสามารถพบได้ทั้งฟันน้ำนมที่มีการติดเชื้อเนื้อเยื่อในอักเสบแบบผันกลับไม่ได้และการติดเชื้อแบบมีการตายของเนื้อเยื่อใน และแลคโตบาซิลลัสมีความสัมพันธ์กับที่มีประวัติของอาการปวดทั้งในสองกลุ่ม
การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาปริมาณและเปรียบเทียบปริมาณของเชื้อแลคโตบาซิลลัส และเอนเทอโรคอคคัส ฟีคาลิสในคลองรากฟันน้ำนมที่ติดเชื้อในกลุ่มที่มีการอักเสบรุนแรงแบบผันกลับไม่ได้ และกลุ่มที่มีการตายของเนื้อเยื่อใน รวมทั้งหาความสัมพันธ์ของเชื้อดังกล่าว กับประวัติของอาการปวด อาการ และอาการแสดงทางคลินิก จากเด็กไทยช่วงอายุ 2-10 ปี จำนวน 119 คน ที่เข้ารับการรักษาที่คลินิกทันตกรรมเด็ก มหาวิทยาลัยมหิดล คิดเป็น 70 ตัวอย่าง จากคลองรากฟันน้ำนมที่มีการอักเสบรุนแรงแบบผันกลับไม่ได้ และ 49 ตัวอย่างจากคลองรากที่มีการตายของเนื้อเยื่อใน โดยการเก็บตัวอย่างจากคลองรากฟันน้ำนม ขณะทำการรักษารากฟันจากนั้นตรวจหาปริมาณเชื้อด้วยวิธีปฏิกิริยาลูกโซ่พอลิเมอเรสแบบเรียลไทม์เมื่อทดสอบด้วยสถิติการทดสอบของแมนวิทนีย์ยู ปริมาณเชื้อของแบคทีเรียทั้งหมด, แลคโตบาซิลลัส และเอนเทอโรคอคคัส ฟีคาลิส ในกลุ่มที่มีการตายของเนื้อเยื่อในมีปริมาณมากกว่ากลุ่มที่คลองรากฟันมีการอักเสบรุนแรงแบบผันกลับไม่ได้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ p = 0.000, p = 0.000 และ p = 0.001, ตามลำดับ นอกจากนี้พบว่ามีเพียงแค่ปริมาณเชื้อแลคโตบาซิลลัสที่มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ กับประวัติของอาการปวดทั้งในกลุ่มคลองรากฟันน้ำนมที่ติดเชื้อในกลุ่มที่มีการอักเสบรุนแรงแบบผันกลับไม่ได้ และกลุ่มที่มีการตายของเนื้อเยื่อใน เมื่อทดสอบด้วยสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน (p = 0.004 และ p = 0.017) สรุปผลการศึกษาพบว่า ปริมาณของเชื้อแลคโตบาซิลลัสและเอนเทอโรคอคคัส ฟีคาลิสสามารถพบได้ทั้งฟันน้ำนมที่มีการติดเชื้อเนื้อเยื่อในอักเสบแบบผันกลับไม่ได้และการติดเชื้อแบบมีการตายของเนื้อเยื่อใน และแลคโตบาซิลลัสมีความสัมพันธ์กับที่มีประวัติของอาการปวดทั้งในสองกลุ่ม
Description
Dentistry (Mahidol University 2018)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Dentistry
Degree Discipline
Dentistry
Degree Grantor(s)
Mahidol University