ความสุขในการทำงานของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขระดับปฐมภูมิ จังหวัดสมุทรปราการ
Issued Date
2554
Copyright Date
2554
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ก-ญ, 159 แผ่น : ภาพประกอบ
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (บริหารสาธารณสุข))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2556
Suggested Citation
อภิศฎา แก้วมีศรี ความสุขในการทำงานของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขระดับปฐมภูมิ จังหวัดสมุทรปราการ. วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (บริหารสาธารณสุข))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2556. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92992
Title
ความสุขในการทำงานของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขระดับปฐมภูมิ จังหวัดสมุทรปราการ
Alternative Title(s)
Job happiness of primary care personnel in Samutprakarn province
Author(s)
Abstract
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความสุขใน การทำงานและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสุขในการทำงานของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขระดับปฐมภูมิ จังหวัด สมุทรปราการ กลุ่มตัวอย่างคือ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ปฏิบัติงานในหน่วยบริการปฐมภูมิ สังกัดสำนักงาน สาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ กระทรวงสาธารณสุข จำนวน 369 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็น แบบสอบถาม เก็บรวบรวมข้อมูลตั้งแต่ 1-31 สิงหาคม 2555 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติไคสแควร์และวิเคราะห์ ความถดถอยโลจิสติกเชิงพหุ ผลการวิจัยพบว่า ระดับความสุขในการทำงานโดยรวมของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขระดับปฐมภูมิ จังหวัดสมุทรปราการอยู่ในระดับค่อนข้างมาก และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความสุขในการทำงานอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ (P-value < 0.05) ได้แก่ ตำแหน่งงาน ระยะเวลาปฏิบัติงาน รายได้ของครอบครัว คุณลักษณะงานและสภาพแวดล้อมภายในหน่วยงาน โดยพบว่ารายได้ของครอบครัว คุณลักษณะงานด้าน ความสำคัญของงานและสภาพแวดล้อมภายในหน่วยงานเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสุขในการทำงานที่ ร่วมกันอธิบายโอกาสมีความสุขในการทำงานในระดับมาก ได้ร้อยละ 25 (R2 = 0.25) การวิจัยนี้มีข้อเสนอแนะผู้บริหารต้นสังกัดให้ความสำคัญกับเจ้าหน้าที่ทุกตำแหน่งงาน โดยเน้น ถึงการรับรู้คุณค่าของงานที่สร้างประโยชน์ต่อส่วนรวม การจัดให้มีสภาพแวดล้อมภายในหน่วยงานที่เอื้อต่อการ พัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่ รวมทั้งการพิจารณาปรับค่าตอบแทนอย่างเหมาะสม เพื่อให้มีรายได้ของ ครอบครัวเพียงพอต่อการดำรงชีวิตประจำวัน นอกจากนี้ควรศึกษาเปรียบเทียบความสุขในการทำงานเป็นระยะ เพื่อนำมาใช้ในการวางแผนพัฒนาให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขระดับปฐมภูมิ จังหวัดสมุทรปราการมีความสุขใน การทำงานอย่างยั่งยืน
This study was cross- sectional survey research. The objective of the research was to study the level of job happiness and associated factors of the primary care personnel in Samutprakarn province. The sample was 369 primary care personnel at the primary care level of the Samutprakarn Provincial Public Health Office, Ministry of Public Health. The research tool was a questionnaire, with data collected from 1st to 31st August 2555 BE. Data were statistically analyzed by using Chi - square and Multiple Logistic Regression Analysis. The study found that the overall level of job happiness of the primary care personnel was somewhat high, and the predictors which showed statistical significance (p-value < 0.05) were: job position, duration of work, family income, job characteristics and work environment. Family income, job characteristics, job significance and work environment could co-predict the possibility of having a high level of job happiness and account for 25% of the variance (R{u100B36} = 0.25). Research recommendations are: the administrators should recognize the importance of the officers of all positions, by realizing their job's significance is contributing to the benefit of the public, providing a working environment conducive to the development of the potentiality of the officers, and providing appropriate salary and fringe benefits for their daily living. There should also be periodic study of their job happiness to be used as input to plan for their sustainable job happiness.
This study was cross- sectional survey research. The objective of the research was to study the level of job happiness and associated factors of the primary care personnel in Samutprakarn province. The sample was 369 primary care personnel at the primary care level of the Samutprakarn Provincial Public Health Office, Ministry of Public Health. The research tool was a questionnaire, with data collected from 1st to 31st August 2555 BE. Data were statistically analyzed by using Chi - square and Multiple Logistic Regression Analysis. The study found that the overall level of job happiness of the primary care personnel was somewhat high, and the predictors which showed statistical significance (p-value < 0.05) were: job position, duration of work, family income, job characteristics and work environment. Family income, job characteristics, job significance and work environment could co-predict the possibility of having a high level of job happiness and account for 25% of the variance (R{u100B36} = 0.25). Research recommendations are: the administrators should recognize the importance of the officers of all positions, by realizing their job's significance is contributing to the benefit of the public, providing a working environment conducive to the development of the potentiality of the officers, and providing appropriate salary and fringe benefits for their daily living. There should also be periodic study of their job happiness to be used as input to plan for their sustainable job happiness.
Description
บริหารสาธารณสุข (มหาวิทยาลัยมหิดล 2556)
Degree Name
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
คณะสาธารณสุขศาสตร์
Degree Discipline
บริหารสาธารณสุข
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล