การมีส่วนร่วมของอาสาสมัครตำรวจบ้านในการป้องกันอาชญากรรมในพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น
Issued Date
2556
Copyright Date
2556
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ญ, 115 แผ่น : ภาพประกอบ
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (อาชญาวิทยาและงานยุติธรรม))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2556
Suggested Citation
ทิพวรรณ ประโคทะสังข์ การมีส่วนร่วมของอาสาสมัครตำรวจบ้านในการป้องกันอาชญากรรมในพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น. วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (อาชญาวิทยาและงานยุติธรรม))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2556. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/93569
Title
การมีส่วนร่วมของอาสาสมัครตำรวจบ้านในการป้องกันอาชญากรรมในพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น
Alternative Title(s)
The participation of the village police volunteers in crime prevention in the Khon Kaen Provincial Administrative Organization
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยด้านการมีส่วนร่วมของอาสาสมัครตํารวจบ้านในการป้องกันอาชญากรรม และปัจจัยด้านความผูกพันทางสังคมกบัการปฏิบัติหน้าที่ของอาสาสมัครตํารวจบ้าน รวมถึงการหาแนวทางในการปรับปรุง เพื่อให้การปฏิบัติหน้าที่ของอาสาสมัครตํารวจบ้านมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดย ศึกษาจากอาสาสมัครตํารวจบ้าน ในพื้นที่องค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่นจํานวน 300 คน จาก 3 ตําบล ได้แก่ ตําบลบ้านค้อ ตําบลสําราญ และตําบลโนนท่อน อ.เมือง จังหวัดขอนแก่น และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจงค่าความถี่ ค่าอัตราส่วนร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวน (Analysis of Variance : ANOVA) รวมทั้งการวิเคราะห์จําแนกพหุ (Multiple Classification Analysis : MCA) ผลการวิจัยพบว่า ในเรื่องของปัจจัยด้านการมีส่วนร่วมในการป้องกันอาชญากรรม พบว่า ความรู้สึก ด้านการมีส่วนร่วมในการป้องกันอาชญากรรมของกลุ่มตัวอย่างอยู่ใน ระดับมาก ได้แก่ การเข้าร่วมกิจกรรมกับเพื่อนบ้านและการเข้าร่วมกิจกรรมกับเจ้าหน้าที่ตํารวจ ปัจจัยความผูกพันทางสังคม พบว่า ความรู้สึกผูกพันกับท้องถิ่นของกลุ่มตัวอยางอยู่ในระดับมาก ซึ่งแยกรายละเอียดเป็น 2 ส่วนคือ ความรู้สึกผูกพันที่มีต่อท้องถิ่นที่อยู่อาศัยของอาสาสมัครตํารวจบ้าน อยู่ในระดับมากที่สุด และความรู้สึกเป็ นส่วนหนึ่งของท้องถิ่นอยู่ในระดับมากปัจจัยด้านระยะเวลาในการปฏิบัติหน้าที่ พบว่า ระยะเวลาในการปฏิบัติหน้าที่ ของกลุ่มตัวอย่างอยู่ในระดับมากและปัจจัยภูมิหลังด้านการตกเป็นเหยื่ออาชญากรรมพบว่า ภาพรวมด้านการตกเป็นเหยื่ออาชญากรรมของกลุ่มตัวอย่างอยู่ในระดับน้อยที่สุด พิจารณาได้2 ส่วน คือ ตนเองตกเป็นเหยื่ออาชญากรรม และญาติพี่น้องตกเป็นเหยื่ออาชญากรรม สรุปได้ว่า ปัจจัยด้านการมีส่วนร่วมในการป้องกันอาชญากรรม, ปัจจัยด้านความผูกพันทางสังคม และปัจจัยภูมิหลังด้านระยะเวลาในการปฏิบัติหน้าที่ มีความสัมพันธ์กบตัวแปรตามคือ มีผลต่อการตั้งจุดตรวจสกัดและการจับกุมของอาสาสมัครตํารวจบ้านในการป้ องกนอาชญากรรม ั ร้อยละ 43.6 (Multiple R = .436)
This research studies the participation of village police volunteers in crime prevention. The social bond theory is used to analyze data and try to seek ways to improve the operation. This research used data collected from 300 people from three sub-districts of the village police in the Khonkaen provincial administrative organization, including Baankor sub-district, Sumran sub-district, Nonton sub-district and Moung Khonkaen district. Data was analyzed using e frequency, percentage, arithmetic average, standard deviation, analysis of variance (ANOVA) and multiple classification analysis (MCA) The results showed that participation in crime prevention, including joint activities with neighbors and the police, is at a high level. The social bond theory, including Attachment with locals is at a high level and participation with locals is at the highest level. Long duration of working as a volunteer is at a high level. Background of victimization, both with self as a victim and relative as a victim, are at the lowest level. It was concluded that participation in crime prevention, social bond theory, long duration working as a volunteer and the background of victimization affect setting check points and arrests at 43.6 % (Multiple R = .436)
This research studies the participation of village police volunteers in crime prevention. The social bond theory is used to analyze data and try to seek ways to improve the operation. This research used data collected from 300 people from three sub-districts of the village police in the Khonkaen provincial administrative organization, including Baankor sub-district, Sumran sub-district, Nonton sub-district and Moung Khonkaen district. Data was analyzed using e frequency, percentage, arithmetic average, standard deviation, analysis of variance (ANOVA) and multiple classification analysis (MCA) The results showed that participation in crime prevention, including joint activities with neighbors and the police, is at a high level. The social bond theory, including Attachment with locals is at a high level and participation with locals is at the highest level. Long duration of working as a volunteer is at a high level. Background of victimization, both with self as a victim and relative as a victim, are at the lowest level. It was concluded that participation in crime prevention, social bond theory, long duration working as a volunteer and the background of victimization affect setting check points and arrests at 43.6 % (Multiple R = .436)
Description
อาชญาวิทยาและงานยุติธรรม (มหาวิทยาลัยมหิดล 2556)
Degree Name
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
Degree Discipline
อาชญาวิทยาและงานยุติธรรม
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล