Factors affecting cat scratch disease preventive behaviors among cat owners in Sriracha district, Chonburi province
Issued Date
2024
Copyright Date
2018
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
x, 98 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Suggested Citation
Benjamas Wongsalee (2024). Factors affecting cat scratch disease preventive behaviors among cat owners in Sriracha district, Chonburi province. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91632
Title
Factors affecting cat scratch disease preventive behaviors among cat owners in Sriracha district, Chonburi province
Alternative Title(s)
ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคแมวข่วนของเจ้าของแมวในอำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
This cross-sectional study was conducted to assess the factors that affecting Cat Scratch Disease (CSD) preventive behaviors among cat owners in Sriracha district, Chonburi province. A total of 400 volunteers were selected through a simple random sampling technique. Data were collected from respondents through structured questionnaire in face-to-face interviews between June, 2016 to July, 2017, and were analyzed via descriptive statistics, t-test, one-way ANOVA, Pearson's correlation, and stepwise multiple linear regression. It was found that most respondents had a poor level of CSD preventive behaviors (65.5%), a poor level of knowledge (83.0%), and a less supporting attitude (90.0%) about CSD. Most of them had a good level of accessibility to resources and services (66.8%). Most respondents had a fair level of accessibility to information about CSD from media sources (76.0%), a poor level from public health workers (58.0%), and a poor level from family/friends/colleagues/neighbors (88.0%). Factors correlating significantly to CSD preventive behaviors were marital status, educational attainment, occupation, total household income per month, knowledge, accessibility to resources and services, and accessibility to information from media sources, public health workers, family/friends/colleagues/neighbors. The three significant predictors of CSD preventive behaviors included knowledge, accessibility to resources and services, and accessibility to information from media sources. Interestingly, these predictors accounted for 21.5% of the variance in CSD preventive behaviors. These findings suggest that, improvement of preventive behaviors among cat owners should be promoted by focusing on their knowledge, access to resources and services, including increased communication effectiveness, in order to build awareness of the risk of zoonoses.
การศึกษาแบบภาคตัดขวางนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคแมวข่วนของเจ้าของแมวจำนวน 400 ครัวเรือนจากการสุ่มตัวอย่างอย่างง่ายในอำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ระหว่างเดือนมิถุนายน 2559 ถึง เดือนกรกฎาคม 2560 เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา การทดสอบที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สันและการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณเชิงเส้นตรงแบบมีขั้นตอนผลการศึกษาพบว่าเจ้าของแมวส่วนใหญ่ มีพฤติกรรมป้องกันโรคแมวข่วนอยู่ในระดับต่ำ (ร้อยละ 65.5) มีความรู้เรื่องโรคแมวข่วนในระดับต่ำ ( ร้อยละ 83.0) และเจตคติระดับต่ำ ( ร้อยละ 90.0) เจ้าของแมวส่วนใหญ่มีการเข้าถึงแหล่งทรัพยากรและการบริการในระดับดี (ร้อยละ 66.8) ส่วนการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับโรคแมวข่วนจากสื่อต่าง ๆ พบว่าอยู่ในระดับปานกลาง (ร้อยละ 76.0) จากบุคลากรทางสาธารณสุขอยู่ในระดับต่ำ (ร้อยละ 58.0) และจากคนในครอบครัว/เพื่อน/เพื่อนร่วมงาน/เพื่อนบ้านในระดับต่ำ (ร้อยละ 88.0) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันโรคแมวข่วนได้แก่สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ของครอบครัวต่อเดือน ความรู้ การเข้าถึงแหล่งทรัพยากรและการบริการ การเข้าถึงข้อมูลเกี่ยวกับโรคแมวข่วนจากสื่อต่าง ๆ จากบุคลากรทางสาธารณสุขและจากคนในครอบครัว/เพื่อน/เพื่อนร่วมงาน/เพื่อนบ้าน ส่วนปัจจัยที่สามารถทำนายพฤติกรรมการป้องกันโรคแมวข่วนมีทั้งหมด 3 ปัจจัย ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับโรคแมวข่วน การเข้าถึงแหล่งทรัพยากร และการบริการ และการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับโรคแมวข่วนจากสื่อต่าง ๆ โดยสามารถร่วมทำนายความผันแปรของพฤติกรรมการป้องกันโรคแมวข่วนได้ร้อยละ 21.5 ผลการศึกษาในครั้งนี้ทำให้ได้ข้อเสนอแนะในการที่จะส่งเสริมให้เจ้าของแมวมีพฤติกรรมการป้องกัน โรคแมวข่วนที่ถูกต้องของเจ้าของแมวโดยเน้นการให้ความรู้ การเข้าถึงแหล่งทรัพยากรและการบริการ รวมไปถึงการ เพิ่มประสิทธิภาพของการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับโรคนี้ผ่านสื่อต่าง อันจะส่งผลให้เจ้าของแมวเกิดความ ตระหนักถึงความสำคัญของโรคสัตว์ติดคน
การศึกษาแบบภาคตัดขวางนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคแมวข่วนของเจ้าของแมวจำนวน 400 ครัวเรือนจากการสุ่มตัวอย่างอย่างง่ายในอำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ระหว่างเดือนมิถุนายน 2559 ถึง เดือนกรกฎาคม 2560 เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา การทดสอบที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สันและการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณเชิงเส้นตรงแบบมีขั้นตอนผลการศึกษาพบว่าเจ้าของแมวส่วนใหญ่ มีพฤติกรรมป้องกันโรคแมวข่วนอยู่ในระดับต่ำ (ร้อยละ 65.5) มีความรู้เรื่องโรคแมวข่วนในระดับต่ำ ( ร้อยละ 83.0) และเจตคติระดับต่ำ ( ร้อยละ 90.0) เจ้าของแมวส่วนใหญ่มีการเข้าถึงแหล่งทรัพยากรและการบริการในระดับดี (ร้อยละ 66.8) ส่วนการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับโรคแมวข่วนจากสื่อต่าง ๆ พบว่าอยู่ในระดับปานกลาง (ร้อยละ 76.0) จากบุคลากรทางสาธารณสุขอยู่ในระดับต่ำ (ร้อยละ 58.0) และจากคนในครอบครัว/เพื่อน/เพื่อนร่วมงาน/เพื่อนบ้านในระดับต่ำ (ร้อยละ 88.0) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันโรคแมวข่วนได้แก่สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ของครอบครัวต่อเดือน ความรู้ การเข้าถึงแหล่งทรัพยากรและการบริการ การเข้าถึงข้อมูลเกี่ยวกับโรคแมวข่วนจากสื่อต่าง ๆ จากบุคลากรทางสาธารณสุขและจากคนในครอบครัว/เพื่อน/เพื่อนร่วมงาน/เพื่อนบ้าน ส่วนปัจจัยที่สามารถทำนายพฤติกรรมการป้องกันโรคแมวข่วนมีทั้งหมด 3 ปัจจัย ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับโรคแมวข่วน การเข้าถึงแหล่งทรัพยากร และการบริการ และการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับโรคแมวข่วนจากสื่อต่าง ๆ โดยสามารถร่วมทำนายความผันแปรของพฤติกรรมการป้องกันโรคแมวข่วนได้ร้อยละ 21.5 ผลการศึกษาในครั้งนี้ทำให้ได้ข้อเสนอแนะในการที่จะส่งเสริมให้เจ้าของแมวมีพฤติกรรมการป้องกัน โรคแมวข่วนที่ถูกต้องของเจ้าของแมวโดยเน้นการให้ความรู้ การเข้าถึงแหล่งทรัพยากรและการบริการ รวมไปถึงการ เพิ่มประสิทธิภาพของการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับโรคนี้ผ่านสื่อต่าง อันจะส่งผลให้เจ้าของแมวเกิดความ ตระหนักถึงความสำคัญของโรคสัตว์ติดคน
Description
Public Health (Mahidol University 2018)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Masters
Degree Department
Faculty of Public Health
Degree Discipline
Public Health
Degree Grantor(s)
Mahidol University