Cultural representations in English language textbooks used in multicultural classrooms : a case study of a primary school in Samut Sakhon province
Issued Date
2024
Copyright Date
2020
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xii, 172 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thematic Paper (M.A. (Language and Culture for Communication and Development))--Mahidol University, 2020
Suggested Citation
Kulthida Saemee Cultural representations in English language textbooks used in multicultural classrooms : a case study of a primary school in Samut Sakhon province. Thematic Paper (M.A. (Language and Culture for Communication and Development))--Mahidol University, 2020. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92085
Title
Cultural representations in English language textbooks used in multicultural classrooms : a case study of a primary school in Samut Sakhon province
Alternative Title(s)
การนำเสนอวัฒนธรรมในหนังสือเรียนภาษาอังกฤษที่ใช้ในห้องเรียนพหุวัฒนธรรม : กรณีศึกษาโรงเรียนระดับประถมศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัดสมุทรสาคร
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
The aim of this study is twofold: 1) to analyze the cultural diversity contents represented in the ELT textbooks used in the multicultural classrooms in a primary school located in Samut Sakhon and 2) to investigate the teachers' perceptions toward the cultural representations in the ELT textbooks used in the multicultural classrooms. The target textbooks include six student books and six activity books (grade 1-6) written by the foreign writers. The participants are three English language teachers. Content analysis was adopted to categorize the cultural aspects and cultural sources represented in both textual and visual forms. Moreover, the classroom observations and the in-depth interviews were conducted after analyzing the textbooks. The findings reveal the imbalance of the cultural aspects and cultural sources. Based on the cultural aspects, the perspectives referring to small c cultures are underrepresented. Based on the cultural sources, the source cultures referring to the students' cultural backgrounds and the ASEAN regional cultures are rarely integrated. Moreover, the teachers indicate that the target cultures are widely represented. They advocate to integrate the cultural diversity in the ELT textbooks however, the migrant students' cultures and the ASEAN regional cultures are hardly mentioned.
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อวิเคราะห์เนื้อหาความหลากหลายทางวัฒนธรรมที่ ปรากฏในหนังสือเรียนภาษาอังกฤษที่ใช้ในห้องเรียนพหุวัฒนธรรมในโรงเรียนระดับ ประถมศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัดสมุทรสาคร และ 2) เพื่อสำรวจการรับรู้ของคุณครูต่อวัฒนธรรมที่ปรากฏในหนังสือเรียนภาษาอังกฤษดังกล่าว หนังสือที่ใช้ในการศึกษาคือหนังสือเรียนภาษาอังกฤษ 6 เล่ม และหนังสือแบบฝึกหัดภาษาอังกฤษ 6 เล่ม ที่ใช้ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 6 ผู้เข้าร่วมงานวิจัยคือคุณครูสอนภาษาอังกฤษจำนวน 3 ท่าน งานวิจัยนี้ใช้การวิเคราะห์เนื้อหาในการจัดประเภทเนื้อหาทางวัฒนธรรม โดยวิเคราะห์ทั้งในรูปแบบเนื้อหาและภาพประกอบ ผลวิจัยพบว่าการนำเสนอวัฒนธรรมในหนังสือเรียนยังไม่มีความหลากหลายเท่าที่ควร วัฒนธรรมประเภท Perspectives หรือ Small c แทบจะไม่ปรากฏในหนังสือเรียน ยิ่งไปกว่านั้น วัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับผู้เรียนและวัฒนธรรมของกลุ่มสมาชิกอาเซียนแทบจะไม่ปรากฏในหนังสือดังกล่าว จากการสัมภาษณ์เชิงลึก คุณครูชี้ให้เห็นว่าหนังสือเรียนภาษาอังกฤษดังกล่าวมุ่งนำเสนอวัฒนธรรมในกลุ่มประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่มากกว่าวัฒนธรรมอื่นอย่างเห็นได้ชัด นอกจากนี้ คุณครูชี้ให้เห็นถึงความสำคัญในการบูรณาการเนื้อหาทางวัฒนธรรมที่หลากหลายในหนังสือเรียนภาษาอังกฤษ อย่างไรก็ตาม คุณครูแทบจะไม่กล่าวถึงวัฒนธรรมของนักเรียนข้ามชาติและวัฒนธรรมในอาเซียน
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อวิเคราะห์เนื้อหาความหลากหลายทางวัฒนธรรมที่ ปรากฏในหนังสือเรียนภาษาอังกฤษที่ใช้ในห้องเรียนพหุวัฒนธรรมในโรงเรียนระดับ ประถมศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัดสมุทรสาคร และ 2) เพื่อสำรวจการรับรู้ของคุณครูต่อวัฒนธรรมที่ปรากฏในหนังสือเรียนภาษาอังกฤษดังกล่าว หนังสือที่ใช้ในการศึกษาคือหนังสือเรียนภาษาอังกฤษ 6 เล่ม และหนังสือแบบฝึกหัดภาษาอังกฤษ 6 เล่ม ที่ใช้ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 6 ผู้เข้าร่วมงานวิจัยคือคุณครูสอนภาษาอังกฤษจำนวน 3 ท่าน งานวิจัยนี้ใช้การวิเคราะห์เนื้อหาในการจัดประเภทเนื้อหาทางวัฒนธรรม โดยวิเคราะห์ทั้งในรูปแบบเนื้อหาและภาพประกอบ ผลวิจัยพบว่าการนำเสนอวัฒนธรรมในหนังสือเรียนยังไม่มีความหลากหลายเท่าที่ควร วัฒนธรรมประเภท Perspectives หรือ Small c แทบจะไม่ปรากฏในหนังสือเรียน ยิ่งไปกว่านั้น วัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับผู้เรียนและวัฒนธรรมของกลุ่มสมาชิกอาเซียนแทบจะไม่ปรากฏในหนังสือดังกล่าว จากการสัมภาษณ์เชิงลึก คุณครูชี้ให้เห็นว่าหนังสือเรียนภาษาอังกฤษดังกล่าวมุ่งนำเสนอวัฒนธรรมในกลุ่มประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่มากกว่าวัฒนธรรมอื่นอย่างเห็นได้ชัด นอกจากนี้ คุณครูชี้ให้เห็นถึงความสำคัญในการบูรณาการเนื้อหาทางวัฒนธรรมที่หลากหลายในหนังสือเรียนภาษาอังกฤษ อย่างไรก็ตาม คุณครูแทบจะไม่กล่าวถึงวัฒนธรรมของนักเรียนข้ามชาติและวัฒนธรรมในอาเซียน
Description
Language and Intercultural Communication (Mahidol University 2020)
Degree Name
Master of Arts
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Research Institute for Languages and Cultures of Asia
Degree Discipline
Language and Intercultural Communication
Degree Grantor(s)
Mahidol University