Angioarchitecture in celiac ganglion complex of common tree shrew (Tupaia glis)
Issued Date
2024
Copyright Date
1996
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xiii, 72 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Anatomy))--Mahidol University, 1996
Suggested Citation
Waraporn Promwikorn Angioarchitecture in celiac ganglion complex of common tree shrew (Tupaia glis). Thesis (M.Sc. (Anatomy))--Mahidol University, 1996. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/99298
Title
Angioarchitecture in celiac ganglion complex of common tree shrew (Tupaia glis)
Alternative Title(s)
การศึกษารายละเอียดของหลอดเลือดใน Celiac Ganglion Complex ของกระแต
Author(s)
Abstract
Fifteen adult common tree shrews of both sexes weighing between 110 - 180 g are used for the study with LM, TEM and corrosion cast technique/SEM. It is found that the celiac ganglion complex (CGC) is a bilobed structure which situates anterior and lateral to the abdominal aorta (AA) around the root of celiac artery (CA) and superior mesenteric artery (SMA). The left ganglion is larger and locates more superior than the right one. The left and right ganglia are connected together with an isthmus which situates anterior to the AA between the root of CA and SMA. The CGC contains a large number of multipolar neurons with a large eccentric euchromatic nucleus which evenly distributes throughout the ganglion. It is noted that abundant of continuous type capillaries are closely associated with the neurons. The blood supply of the CGC is from various sources. They are inferior phrenic arteries, superior suprarenal arteries, middle suprarenal arteries, inferior suprarenal arteries, celiac artery, superior mesenteric artery, abdominal aorta and lumbar arteries. When the arteries from each source arrive the ganglion, they branch off to form subcapsular capillary plexus. At the mean time their main trunks further traverse deep into the deeper part to form intraganglionic capillaries before draining the blood into the collecting vein in the peripheral region. These veins join the renal veins, inferior phrenic veins and inferior vena cava.
จากการศึกษากลุ่มปมประสาทซีลีแอคในกระแตทั้ง สองเพศ นำ้หนัก 110 - 180 กรัม โดยใช้กล้องจุลทรรศน์ แบบธรรมดา (LM), กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่าน (TEM) และด้วยวิธี vascular corrsion cast ร่วมกับ กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด (SEM) พบว่ากลุ่มปม ประสาทซีลีแอคมีลักษณะเป็นก้อน 2 ก้อน วางตัวอยู่สองข้าง ของหลอดเลือด abdominal aorta (AA) ระดับเดียวกับโคนของ celiac artery (CA) และ superior mesenteric artery (SMA) กลุ่มปมประสาทซีลีแอคทั้งสองก้อนเชื่อมติดกันด้วย ส่วนคอดที่พาดอยู่หน้า AA ระหว่างโคนหลอดเลือด CA และ SMA กลุ่มปมประสาทนี้ประกอบด้วยเซลล์ประสาทชนิด multipolar จำนวนมาก กระจายตัวอยู่ทั่วไป แต่ละเซลล์ มีนิวเคลียสขนาดใหญ่วางตัวอยู่ค่อนไปทางขอบของเซลล์ นอกจากนี้ยังพบว่า หลอดเลือดฝอยภายในปมประสาทเป็นชนิด ไม่มีรู (nonfenestrated capillary) กระจายตัวใกล้ชิด กับเซลล์ประสาท แหล่งที่มาของหลอดเลือดเหล่านี้มาจาก inferior phrenic arteries, superior suprarenal arteries, middle suprarenal arteries, inferior suprarenal arteries, celiac artery, superior mesenteric artery, abdominal aorta และ lumbar arteries เมื่อแขนงของหลอดเลือดจากแหล่งดังกล่าวทอดมา ถึงปมประสาทจะแตกแขนงให้เป็น subcapsular capillary plexus ส่วนแขนงหลักที่เหลือจะแทงทะลุเข้าไปภายในปม ประสาท และแตกแขนงเป็น intraganglionic capillaries หล่อเลี้ยงเนื้อเยื่อต่าง ๆ ของปมประสาท หลังจากนั้นจึง รวมตัวกันเป็น venules และ veins ก่อนจะเทเข้าสู่หลอด เลือดดำ renal veins, inferior vena cava และ inferior phrenic veins
จากการศึกษากลุ่มปมประสาทซีลีแอคในกระแตทั้ง สองเพศ นำ้หนัก 110 - 180 กรัม โดยใช้กล้องจุลทรรศน์ แบบธรรมดา (LM), กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่าน (TEM) และด้วยวิธี vascular corrsion cast ร่วมกับ กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด (SEM) พบว่ากลุ่มปม ประสาทซีลีแอคมีลักษณะเป็นก้อน 2 ก้อน วางตัวอยู่สองข้าง ของหลอดเลือด abdominal aorta (AA) ระดับเดียวกับโคนของ celiac artery (CA) และ superior mesenteric artery (SMA) กลุ่มปมประสาทซีลีแอคทั้งสองก้อนเชื่อมติดกันด้วย ส่วนคอดที่พาดอยู่หน้า AA ระหว่างโคนหลอดเลือด CA และ SMA กลุ่มปมประสาทนี้ประกอบด้วยเซลล์ประสาทชนิด multipolar จำนวนมาก กระจายตัวอยู่ทั่วไป แต่ละเซลล์ มีนิวเคลียสขนาดใหญ่วางตัวอยู่ค่อนไปทางขอบของเซลล์ นอกจากนี้ยังพบว่า หลอดเลือดฝอยภายในปมประสาทเป็นชนิด ไม่มีรู (nonfenestrated capillary) กระจายตัวใกล้ชิด กับเซลล์ประสาท แหล่งที่มาของหลอดเลือดเหล่านี้มาจาก inferior phrenic arteries, superior suprarenal arteries, middle suprarenal arteries, inferior suprarenal arteries, celiac artery, superior mesenteric artery, abdominal aorta และ lumbar arteries เมื่อแขนงของหลอดเลือดจากแหล่งดังกล่าวทอดมา ถึงปมประสาทจะแตกแขนงให้เป็น subcapsular capillary plexus ส่วนแขนงหลักที่เหลือจะแทงทะลุเข้าไปภายในปม ประสาท และแตกแขนงเป็น intraganglionic capillaries หล่อเลี้ยงเนื้อเยื่อต่าง ๆ ของปมประสาท หลังจากนั้นจึง รวมตัวกันเป็น venules และ veins ก่อนจะเทเข้าสู่หลอด เลือดดำ renal veins, inferior vena cava และ inferior phrenic veins
Description
Anatomy (Mahidol University 1996)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Science
Degree Discipline
Anatomy
Degree Grantor(s)
Mahidol University