Promoting the usage of trademark infringement law of the sport industry entrepreneurs
Issued Date
2024
Copyright Date
2018
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xi, 234 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (Ph.D. (Sports Management))--Mahidol University, 2006
Suggested Citation
Oam Toaj Promoting the usage of trademark infringement law of the sport industry entrepreneurs. Thesis (Ph.D. (Sports Management))--Mahidol University, 2006. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92266
Title
Promoting the usage of trademark infringement law of the sport industry entrepreneurs
Alternative Title(s)
การส่งเสริมการใช้กฎหมายละเมิดเครื่องหมายการค้าของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมกีฬา
Author(s)
Abstract
The objectives of this research were to study usage promotion of trademark infringement law of sport industry entrepreneurs and to analyze those factors. The exploratory sequential mixed methods design was characterized by an initial qualitative phase of data collection and analysis, followed by a phase of quantitative data collection and analysis, with a final phase of integration or linking of data from the two separate strands of data. The samples consisted of 300 law users, the entrepreneurs and the consumers, recruited using the purposive selection sampling method. The research tools in this research were interview form and questionnaire issuing in internal and external factors. The collected data were then analyzed in terms of means and standard deviations. Factor analysis and content analysis were also employed at the statistical significant level of .05. The results found that promoting the usage of trademark infringement law of the sport industry entrepreneurs were consisted of the 7 components. The eigenvalues were in between the level of moderate and high (2.736 - 2.904), which in descending order were: ethics, needs, attitudes and values, product, society, law, and economics. The qualitative results were verified by group interviews with key informants. Factor analysis was used in this research, which was rarely applied in law research. It provided the concrete results, understandable to society which consisted of 7 components that affected stakeholders and organizations for problem solving and efficiently enabling usage promotion of trademark infringement law of the sport industry entrepreneurs.
การวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการส่งเสริมการใช้กฎหมายละเมิดเครื่องหมายการค้าของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมกีฬาและวิเคราะห์ปัจจัยดังกล่าว การวิจัยแบบวิธีผสมผสานด้วยรูปแบบขั้นตอนเชิงสำรวจได้ถูกนำมาใช้ในขั้นตอนแรกของส่วนของการเก็บข้อมูลและการวิเคราะห์เชิงคุณภาพ ตามมาด้วยส่วนของการเก็บข้อมูลและการวิเคราะห์เชิงปริมาณ และส่วนสุดท้ายของการผสมผสานและเชื่อมข้อมูลจากข้อมูลทางสถิติที่แยกออกจากกัน 2 สถิติ กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย ผู้ใช้กฎหมาย ผู้ประกอบการและผู้บริโภคจำนวน 300 คน โดยการได้มาซึ่งกลุ่มตัวอย่างใช้วิธีเลือกอย่างเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยนี้คือ แบบสัมภาษณ์และแบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก นำข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้มาวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์องค์ประกอบและวิเคราะห์เนื้อหา ด้วยค่านัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิจัยพบว่า การส่งเสริมการใช้กฎหมายละเมิดเครื่องหมายการค้าของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมกีฬาประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ มีค่าไอแกนแวลลูอยู่ในระดับปานกลางถึงสูง (2.736 - 2.904) เรียงลำดับองค์ประกอบจากมากไปน้อยได้ดังนี้ ด้านจริยธรรม ด้านความต้องการ ด้านทัศนคติและคุณค่า ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านสังคม ด้านกฎหมายและด้านเศรษฐกิจ ส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพผลการวิจัยเชิงคุณภาพตรวจสอบโดยการสัมภาษณ์กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลักการวิเคราะห์องค์ประกอบได้ถูกใช้ในงานวิจัยนี้ซึ้งไม่ใคร่ได้มีการนำมาใช้ในการวิจัยทางกฎหมาย ทำให้ผลการวิจัยเป็นรูปธรรม สังคมเข้าใจได้ง่าย ประกอบด้วย 7 องค์ประกอบหลัก ที่จะส่งผลให้ผู้มีส่วนได้เสียและองค์กรที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการแก้ไขและส่งเสริมการใช้กฎหมายละเมิดเครื่องหมายการค้าของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมกีฬาปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
การวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการส่งเสริมการใช้กฎหมายละเมิดเครื่องหมายการค้าของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมกีฬาและวิเคราะห์ปัจจัยดังกล่าว การวิจัยแบบวิธีผสมผสานด้วยรูปแบบขั้นตอนเชิงสำรวจได้ถูกนำมาใช้ในขั้นตอนแรกของส่วนของการเก็บข้อมูลและการวิเคราะห์เชิงคุณภาพ ตามมาด้วยส่วนของการเก็บข้อมูลและการวิเคราะห์เชิงปริมาณ และส่วนสุดท้ายของการผสมผสานและเชื่อมข้อมูลจากข้อมูลทางสถิติที่แยกออกจากกัน 2 สถิติ กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย ผู้ใช้กฎหมาย ผู้ประกอบการและผู้บริโภคจำนวน 300 คน โดยการได้มาซึ่งกลุ่มตัวอย่างใช้วิธีเลือกอย่างเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยนี้คือ แบบสัมภาษณ์และแบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก นำข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้มาวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์องค์ประกอบและวิเคราะห์เนื้อหา ด้วยค่านัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิจัยพบว่า การส่งเสริมการใช้กฎหมายละเมิดเครื่องหมายการค้าของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมกีฬาประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ มีค่าไอแกนแวลลูอยู่ในระดับปานกลางถึงสูง (2.736 - 2.904) เรียงลำดับองค์ประกอบจากมากไปน้อยได้ดังนี้ ด้านจริยธรรม ด้านความต้องการ ด้านทัศนคติและคุณค่า ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านสังคม ด้านกฎหมายและด้านเศรษฐกิจ ส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพผลการวิจัยเชิงคุณภาพตรวจสอบโดยการสัมภาษณ์กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลักการวิเคราะห์องค์ประกอบได้ถูกใช้ในงานวิจัยนี้ซึ้งไม่ใคร่ได้มีการนำมาใช้ในการวิจัยทางกฎหมาย ทำให้ผลการวิจัยเป็นรูปธรรม สังคมเข้าใจได้ง่าย ประกอบด้วย 7 องค์ประกอบหลัก ที่จะส่งผลให้ผู้มีส่วนได้เสียและองค์กรที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการแก้ไขและส่งเสริมการใช้กฎหมายละเมิดเครื่องหมายการค้าของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมกีฬาปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
Description
Sports Management (Mahidol University 2018)
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
Faculty of Social Sciences and Humanities
Degree Discipline
Sports Management
Degree Grantor(s)
Mahidol University