Factors influencing the subcultural behaviors of inmates in prisons
Issued Date
2023
Copyright Date
2014
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xv, 272 leaves : ill.
Access Rights
restricted access
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (Ph.D. (Criminology, Justice Administration and Society))--Mahidol University, 2014
Suggested Citation
Warissara Sirisutthidacha Factors influencing the subcultural behaviors of inmates in prisons. Thesis (Ph.D. (Criminology, Justice Administration and Society))--Mahidol University, 2014. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/89533
Title
Factors influencing the subcultural behaviors of inmates in prisons
Alternative Title(s)
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการแสดงพฤติกรรมตามวัฒนธรรมรองของผู้ต้องขังในเรือนจำ
Author(s)
Abstract
This study was to investigate the inmate subculture regarding their prison argot, symbolization, violation of prison rules, grouping by offense; factors affecting the inmate subculture; and the inmate subculture models in the prisons in Thailand through mixed method research. The samples for the quantitative approach were 400 male inmates and data collection was through a questionnaire. The qualitative research was through in-depth interviews conducted with twenty prison personnel empowered to control inmates sentenced to more than thirty years imprisonment and ten inmate group chiefs in five central prisons. Results revealed that the inmate subcultures were prison argot, symbolization, violation of prison rules and grouping by offense within the prison societies. Eight factors influencing the inmate subcultures were tested: 1) definition of offense, 2) duration of grouping, 3) intensity of grouping, 4) labeled by family, 5) labeled by society, 6) labeled by authority, 7) group values and belief, and 8) group status and roles. The results of multiple regression analysis showed that all factors influenced inmate subcultures of the prison argot, grouping by offense and violation of prison rules by 18.0% (R Square = .18) and influenced inmate subcultures of symbolization and grouping by offense by 10.0% (R Square = .10). The inmate subcultures were mixed models integrated between the importation mode land the deprivation model.
การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะพฤติกรรมที่เป็นวัฒนธรรมรองของผู้ต้องขังใน เรือนจำทั้งในด้านภาษา ด้านการสร้างสัญลักษณ์ ด้านการละเมิดกฎของเรือนจำ และด้านการรวมกลุ่มตามฐาน ความผิด เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการแสดงพฤติกรรมตามวัฒนธรรมรองของผู้ต้องขังในเรือนจำ และเพื่อ ศึกษารูปแบบวัฒนธรรมรองของผู้ต้องขังในเรือนจำประเทศไทย โดยใช้วิธีการศึกษาแบบผสมผสาน กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการศึกษาเชิงปริมาณได้แก่ การเก็บแบบสอบถามจากผู้ต้องขังชายจำนวน 400 คน และการศึกษา เชิงคุณภาพได้แก่ การสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่เรือนจำ 20 คนและการสัมภาษณ์ผู้ต้องขังที่เป็นหัวหน้ากลุ่ม 10 คนจาก เรือนจำกลาง 5 แห่งที่มีอำนาจการควบคุมผู้ต้องขังที่มีกำหนดโทษจำคุกเกิน 30 ปี ขึ้นไป ผลการศึกษา พบว่า ทั้งพฤติกรรมของผู้ต้องขังด้านการใช้ภาษาเฉพาะ ด้านการสร้างสัญลักษณ์ ด้านการละเมิดกฎเรือนจำและด้าน การรวมกลุ่มตามฐานความผิดถือเป็นวัฒนธรรมรองของผู้ต้องขังในสังคมเรือนจำ และการทดสอบปัจจัยที่มี อิทธิพลต่อการแสดงพฤติกรรมดังกล่าว จำนวน 8 ตัวแปร ประกอบด้วย 1.) นิยามต่อการกระทำผิด 2.) ระยะเวลา ของการรวมกลุ่ม 3.) ความเข้มข้นของความสัมพันธ์ในกลุ่ม 4.)การตีตราจากครอบครัว 5.) การตีตราจากสังคม 6.) การตีตราจากเจ้าหน้าที่ 7.) ค่านิยมความเชื่อในกลุ่ม และ 8.) สถานะและบทบาทในกลุ่ม ผลการวิเคราะห์ข้อมูล การถดถอยพหุคูณ โมเดลองค์ประกอบตัวแปรทั้งหมดมีอิทธิพลต่อการแสดงพฤติกรรมตามวัฒนธรรมรองของ ผู้ต้องขังด้านภาษาเฉพาะและด้านการรวมกลุ่มละเมิดกฎเรือนจำ ร้อยละ 18.0(R Square = .18) และมีอิทธิพลต่อ การแสดงพฤติกรรมตามวัฒนธรรมรองด้านการสร้างสัญลักษณ์และรวมกลุ่มตามฐานความผิดร้อยละ 10.0 (R Square = .10) รูปแบบวัฒนธรรมรองผู้ต้องขังในเรือนจำประเทศไทย มีรูปแบบผสมผสานกันระหว่างการนำ วัฒนธรรมรองที่เคยยึดถือมาจากภายนอกเรือนจำและการสร้างวัฒนธรรมรองของกลุ่มตนเองขึ้นภายใต้ความ กดดันของสภาพแวดล้อมในเรือนจำ
การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะพฤติกรรมที่เป็นวัฒนธรรมรองของผู้ต้องขังใน เรือนจำทั้งในด้านภาษา ด้านการสร้างสัญลักษณ์ ด้านการละเมิดกฎของเรือนจำ และด้านการรวมกลุ่มตามฐาน ความผิด เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการแสดงพฤติกรรมตามวัฒนธรรมรองของผู้ต้องขังในเรือนจำ และเพื่อ ศึกษารูปแบบวัฒนธรรมรองของผู้ต้องขังในเรือนจำประเทศไทย โดยใช้วิธีการศึกษาแบบผสมผสาน กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการศึกษาเชิงปริมาณได้แก่ การเก็บแบบสอบถามจากผู้ต้องขังชายจำนวน 400 คน และการศึกษา เชิงคุณภาพได้แก่ การสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่เรือนจำ 20 คนและการสัมภาษณ์ผู้ต้องขังที่เป็นหัวหน้ากลุ่ม 10 คนจาก เรือนจำกลาง 5 แห่งที่มีอำนาจการควบคุมผู้ต้องขังที่มีกำหนดโทษจำคุกเกิน 30 ปี ขึ้นไป ผลการศึกษา พบว่า ทั้งพฤติกรรมของผู้ต้องขังด้านการใช้ภาษาเฉพาะ ด้านการสร้างสัญลักษณ์ ด้านการละเมิดกฎเรือนจำและด้าน การรวมกลุ่มตามฐานความผิดถือเป็นวัฒนธรรมรองของผู้ต้องขังในสังคมเรือนจำ และการทดสอบปัจจัยที่มี อิทธิพลต่อการแสดงพฤติกรรมดังกล่าว จำนวน 8 ตัวแปร ประกอบด้วย 1.) นิยามต่อการกระทำผิด 2.) ระยะเวลา ของการรวมกลุ่ม 3.) ความเข้มข้นของความสัมพันธ์ในกลุ่ม 4.)การตีตราจากครอบครัว 5.) การตีตราจากสังคม 6.) การตีตราจากเจ้าหน้าที่ 7.) ค่านิยมความเชื่อในกลุ่ม และ 8.) สถานะและบทบาทในกลุ่ม ผลการวิเคราะห์ข้อมูล การถดถอยพหุคูณ โมเดลองค์ประกอบตัวแปรทั้งหมดมีอิทธิพลต่อการแสดงพฤติกรรมตามวัฒนธรรมรองของ ผู้ต้องขังด้านภาษาเฉพาะและด้านการรวมกลุ่มละเมิดกฎเรือนจำ ร้อยละ 18.0(R Square = .18) และมีอิทธิพลต่อ การแสดงพฤติกรรมตามวัฒนธรรมรองด้านการสร้างสัญลักษณ์และรวมกลุ่มตามฐานความผิดร้อยละ 10.0 (R Square = .10) รูปแบบวัฒนธรรมรองผู้ต้องขังในเรือนจำประเทศไทย มีรูปแบบผสมผสานกันระหว่างการนำ วัฒนธรรมรองที่เคยยึดถือมาจากภายนอกเรือนจำและการสร้างวัฒนธรรมรองของกลุ่มตนเองขึ้นภายใต้ความ กดดันของสภาพแวดล้อมในเรือนจำ
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
Faculty of Social Sciences and Humanities
Degree Discipline
Criminology, Justice Administration and Society
Degree Grantor(s)
Mahidol University