Comparing implementation assessment of the Hyogo Framework for Action (HFA) in landslide disaster risk reduction between two communities in Surat Thani province, Thailand
dc.contributor.advisor | Parkorn Suwanich | |
dc.contributor.advisor | Raywadee Roachanakanan | |
dc.contributor.advisor | Achara Ussawarujikulchai | |
dc.contributor.author | Harit Cheautong | |
dc.date.accessioned | 2024-01-19T05:41:23Z | |
dc.date.available | 2024-01-19T05:41:23Z | |
dc.date.copyright | 2016 | |
dc.date.created | 2024 | |
dc.date.issued | 2016 | |
dc.description | Technology of Environmental Management (Mahidol University 2016) | |
dc.description.abstract | Climate change results in an increase in the frequency and intensity of natural disasters, especially hydro-meteorological disasters. Therefore, a framework, called the Hyogo Framework for Action 2005-2015 (HFA), was developed and adopted by State Members of the United Nations in order to reduce the disaster losses of communities and countries. The aims of this study were to assess and compare the progress made towards the HFA implementation in two communities situated in Surat Thani province of Thailand that have implemented different landslide disaster risk reduction. Subsequent to this, questionnaire and in-depth interview were conducted with three respondent groups in order to assess the progress. Responses were made on a 5-point Likert scale ranging from 1 (No, not at all) to 5 (Yes, with satisfactory, sustainable and effective measures in place). The statistical methods used in this study include frequency, percentage, mean, standard deviation, and t-test. The results found that Ban Suan Prang community that has implemented Community-based Disaster Risk Management (CBDRM) showed a statistically significant more progress of the HFA implementation than Ban Khao Lak community that has not implemented CBDRM (Ban Suan Prang versus Ban Khao Lak: x̄ = 3.28, SD = 0.71 versus x̄ = 2.96, SD = 0.58). The results also revealed that the civil society organisations reported the highest score among three groups of respondents, indicating their strong capacity and dedication to landslide disaster risk reduction at the community level. | |
dc.description.abstract | การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศส่งผลให้เกิดพิบัติภัยทางธรรมชาติบ่อยครั้งและทวีความรุนแรงมากขึ้น โดยเฉพาะพิบัติภัยจากน้ำและสภาพอากาศ ซึ่งทั่วโลกได้ตระหนักถึงความสำคัญจึงเกิดความร่วมมือในการสร้างกรอบการดำเนินการที่มีชื่อว่ากรอบเฮียวโกะ (Hyogo Framework for Action 2005-2015) โดยเหล่าประเทศสมาชิกขององค์กรสหประชาชาติได้ลงมติยอมรับและนำไปปรับใช้ โดยมีเป้าหมายเพื่อลดความสูญเสียจากพิบัติภัยในระดับชุมชนของประเทศต่างๆ การศึกษาครั้งนี้จึงมีเป้ าหมายเพื่อประเมินและ เปรียบเทียบความก้าวหน้าในการดำเนินการตามกรอบเฮียวโกะในพื้นที่ 2 ชุมชนของจังหวัดสุราษฎร์ธานีที่มีการดำเนินการลดความเสี่ยงจากพิบัติภัยแผ่นดินถล่มที่แตกต่างกัน โดยใช้แบบสอบถามและการสัมภาษณ์เชิงลึกกับกลุ่มตัวอย่าง 3 กลุ่ม เพื่อประเมินระดับความก้าวหน้าของการดำเนินการตามกรอบเฮียวโกะ มาตรวัดของแบบสอบถามเป็นแบบ Likert-scale แบ่งค่าคะแนนความเห็นเป็น 5 ระดับ ตั้งแต่ 1 (ไม่มีการดำเนินการใดๆ) จนถึง 5 (มีการดำเนินการด้วยมาตรการที่น่าพอใจ มีความยั่งยืนและมีประสิทธิภาพ) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ ร้อยละ และสถิติทดสอบค่า t ผลการศึกษาพบว่าหมู่บ้านสวนปรางซึ่งเป็นชุมชนที่มีการดำเนินการลดความเสี่ยงจากพิบัติภัยโดยอาศัยชุมชนเป็นฐาน (Community-based Disaster Risk Management: CBDRM) มีค่าเฉลี่ยของความก้าวหน้าในการดำเนินการ = 3.28 (SD = 0.71) มากกว่าหมู่บ้านเขาหลักซึ่งเป็นชุมชนที่ไม่ได้มีการดำเนินการดังกล่าวที่มีค่าเฉลี่ยของความก้าวหน้าในการดำเนินการ = 2.96 (SD = 0.58) โดยมีนัยสำคัญทางสถิติ นอกจากนี้ผลการศึกษายังแสดงให้เห็นว่ากลุ่มประชาสังคมเป็นกลุ่มที่มีค่าคะแนนสูงสุด ซึ่งชี้ให้เห็นถึงขีดความสามารถที่เข้มแข็งและความทุ่มเทในการลดความเสี่ยงจากพิบัติภัยแผ่นดินถล่มในระดับชุมชน | |
dc.format.extent | ix, 175 leaves : col. ill. | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier.citation | Thesis (M.Sc. (Technology of Environmental Management))--Mahidol University, 2016 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/93256 | |
dc.language.iso | eng | |
dc.publisher | Mahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center | |
dc.rights | ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า | |
dc.rights.holder | Mahidol University | |
dc.subject | Emergency management -- Thailand -- Surat Thani | |
dc.subject | Hazard mitigation -- Thailand -- Surat Thani | |
dc.subject | Disaster relief -- Thailand -- Surat Thani | |
dc.title | Comparing implementation assessment of the Hyogo Framework for Action (HFA) in landslide disaster risk reduction between two communities in Surat Thani province, Thailand | |
dc.title.alternative | การเปรียบเทียบการดำเนินการตามกรอบเฮียวโกะในการลดความเสี่ยงจากพิบัติภุยแผ่นดินถล่มระหว่าง 2 ชุมชน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ประเทศไทย | |
dc.type | Master Thesis | |
dcterms.accessRights | open access | |
mods.location.url | http://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2559/cd514/5537281.pdf | |
thesis.degree.department | Faculty of Environment and Resource Studies | |
thesis.degree.discipline | Technology of Environmental Management | |
thesis.degree.grantor | Mahidol University | |
thesis.degree.level | Master's degree | |
thesis.degree.name | Master of Science |