การฟื้นฟูภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านท้องถิ่นอีสาน ชุมชนบ้านเชียงเหียน จังหวัดมหาสารคาม
Issued Date
2559
Copyright Date
2559
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
[ก]-ฎ, 311 แผ่น : ภาพประกอบ, แผนภูมิ
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (วัฒนธรรมศึกษา))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2559
Suggested Citation
อัจฉรา ยะราไสย การฟื้นฟูภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านท้องถิ่นอีสาน ชุมชนบ้านเชียงเหียน จังหวัดมหาสารคาม. วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (วัฒนธรรมศึกษา))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2559. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92759
Title
การฟื้นฟูภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านท้องถิ่นอีสาน ชุมชนบ้านเชียงเหียน จังหวัดมหาสารคาม
Alternative Title(s)
Revival of the Northeastern folk medicine, case study of Chianghian community, Mahasarakham province
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) ศึกษาถึงการนำนโยบาย วิธีการ และวิธีคิด ในการฟื้นฟูภูมิปัญญา การแพทย์พื้นบ้านอีสาน ของภาครัฐ และนักวิชาการในพื้นที่ศึกษา 2) ศึกษาถึงทัศนคติ วิธีคิดของชาวบ้าน และ บทบาทของหมอพื้นบ้าน ที่นำมาต่อรองให้เกิดการฟื้นฟูภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านอีสานในชุมชน 3) เพื่อวิเคราะห์ การนิยามคุณค่า และความหมาย พร้อมทั้งสถานภาพ และประเด็นปัญหา ในการฟื้นฟูภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน ของพื้นที่ศึกษา ของชุมชนบ้านเชียงเหียน จังหวัดมหาสารคาม โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research) เก็บข้อมูลจากกลุ่มประชากร 3 กลุ่มการศึกษา คือ กลุ่ม 1 หมอพื้นบ้าน ผู้ปลูก และผู้ค้าสมุนไพร จำนวน 20 คน กลุ่มที่ 2 ชาวบ้านทั่วไป ผู้ใช้บริการ ผู้ป่วย จำนวน 30 คน และกลุ่ม 3 กลุ่มนักวิชาการ ผู้ช่วยเหลือ NGOs จำนวน 10 คน ผลการศึกษาพบว่า การให้คุณค่าและความหมาย ในทรัพยากรวัฒนธรรม คือภูมิปัญญาการแพทย์ พื้นบ้านอีสาน มีความแตกต่างกัน ในส่วนของภาครัฐ และนักวิชาการ ที่สนับสนุนให้เกิดการปลูก "ป่าสมุนไพรชุมชน" ได้ให้ความคุณค่า เพื่อให้เกิด "เชิงเศรษฐกิจและสังคมร่วมสมัย" โดยเพิ่มมูลค่าให้คุ้มค่า ในเชิงเศรษฐศาสตร์ ทำให้เกิดสินค้าวัฒนธรรม และสร้างเอกลักษณ์ความเป็นชาติ ส่วนในทัศนคติของคนในชุมชน มีหมอพื้นบ้าน เป็นผู้ปรับเปลี่ยน บทบาทสำคัญ ในคุณค่าเชิงวัฒนธรรม นำไปสู่การเพิ่มมูลค่า ที่เป็นรูปธรรม คือ (1) คุณค่าด้านวัฒนธรรม (2) คุณค่าด้านสังคม (3) คุณค่าด้านเศรษฐกิจ ซึ่งทั้ง 2 ฝ่าย ต่างอ้างสิทธิ ในการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม ด้วยความรู้สึกในสำนึกของความเป็นเจ้าของภูมิปัญญา ด้วยกันทั้งคู่ จึงทำให้สถานภาพ และ ปัญหาของการฟื้นฟูภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านท้องถิ่นอีสาน อยู่ในภาวะอิหลักอิเหลื่อ ไม่ลงรอยกันในวิธีคิดนำมาสู่ผลกระทบ ในวิธีการพัฒนา เพื่อขยายผลต่อไปในอนาคต รัฐควรทบทวนในเจตนารมณ์ จากการปฏิรูประบบสุขภาพ ในการ "คืนสิทธิ และอำนาจสู่ชุมชน" และรองรับด้านกฏหมาย คุ้มครองภูมิปัญญาการแพทย์ พื้นบ้านอีสาน และพัฒนาต่อยอดในความรู้ของชุมชนอย่างแท้จริง
The objectives of this research are 1) to examine policy implementation, methods, and perspectives on reviving the northeastern folk medicine of competent government agencies and the local academics, 2) to investigate attitudes and perspectives of local residents and roles of herbalists in negotiating for the revival of folk medicine in the community, and 3) to analyze definitions of values and meanings as well as status and problematic issues in reviving the folk medicine of the community. Qualitative data were collected from three population groups including 20 herbalists, herb growers and herb sellers 30 local residents, service users and patients and ten academics and NGO assistants. The findings show that definitions of values and meanings of the cultural resource and the folk medicine were different among the government agencies and local academics regarding the cultivation of community herbal forest . The values were meant to bring about Contemporary socio-economic values by adding economic cost-effectiveness that resulted in cultural products and creation of national identity. As for the attitudes of the local residents, folk herbalists were catalysts in changing the roles of cultural values that could lead to concrete value addition that included cultural values, social values, and economic values. Both sides claimed the rights to cultural resource management (CRM) with a sense of ownership of folk medicine. The contested rights led to a dilemma over the way of thinking and subsequently the methods for future development This suggests that the government should be aware of the principle on health system reform of returning the rights and power to communities and consider enacting necessary legislation to protect northeastern folk medicine and develop a community based on their knowledge.
The objectives of this research are 1) to examine policy implementation, methods, and perspectives on reviving the northeastern folk medicine of competent government agencies and the local academics, 2) to investigate attitudes and perspectives of local residents and roles of herbalists in negotiating for the revival of folk medicine in the community, and 3) to analyze definitions of values and meanings as well as status and problematic issues in reviving the folk medicine of the community. Qualitative data were collected from three population groups including 20 herbalists, herb growers and herb sellers 30 local residents, service users and patients and ten academics and NGO assistants. The findings show that definitions of values and meanings of the cultural resource and the folk medicine were different among the government agencies and local academics regarding the cultivation of community herbal forest . The values were meant to bring about Contemporary socio-economic values by adding economic cost-effectiveness that resulted in cultural products and creation of national identity. As for the attitudes of the local residents, folk herbalists were catalysts in changing the roles of cultural values that could lead to concrete value addition that included cultural values, social values, and economic values. Both sides claimed the rights to cultural resource management (CRM) with a sense of ownership of folk medicine. The contested rights led to a dilemma over the way of thinking and subsequently the methods for future development This suggests that the government should be aware of the principle on health system reform of returning the rights and power to communities and consider enacting necessary legislation to protect northeastern folk medicine and develop a community based on their knowledge.
Description
วัฒนธรรมศึกษา (มหาวิทยาลัยมหิดล 2559)
Degree Name
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย
Degree Discipline
วัฒนธรรมศึกษา
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล