The comparison study of the use of steel and carbon fiber self-contained breathing apparatus (SCBA) among firefighters : the evaluation of effects
Issued Date
2015
Copyright Date
2015
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xiv, 121 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Occupational Health and Safety))--Mahidol University, 2015
Suggested Citation
Pornwimon Tanpradid The comparison study of the use of steel and carbon fiber self-contained breathing apparatus (SCBA) among firefighters : the evaluation of effects. Thesis (M.Sc. (Occupational Health and Safety))--Mahidol University, 2015. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/94045
Title
The comparison study of the use of steel and carbon fiber self-contained breathing apparatus (SCBA) among firefighters : the evaluation of effects
Alternative Title(s)
การศึกษาเปรียบเทียบการใช้ SCBA (self-contained breating apparatus) แบบชนิดถังเหล็กกับชนิดถังคาร์บอนไฟเบอร์ในพนักงานดับเพลิง : ประเมินผลกระทบ
Author(s)
Abstract
SCBA (Self-Contained Breathing Apparatus) is an air containing unit which is used in a limited amount of air area, in toxic gas contaminated atmospheres or for rescue operations. In the past, SCBA air cylinders were made from steel which was heavy and inconvenient for use. Later on, due to the development of material technology the lighter material came to replace them for weight reduction and the most modernized SCBA's air cylinders were made from carbon fiber. The purpose of this study was to compare the use of steel and carbon fiber SCBA among firefighters. Firefighters performed the practice training under the simulated rescue operation in test stations. The results from this study show that the heart rate before and after using steel SCBA was statistically significantly different at 95 % confidence interval level (p < 0.001) where the heart rate after using SCBA was increased from before using SCBA. The heart rate before and after using carbon fiber SCBA was statistically significantly different at 95 % confidence interval level (p < 0.001) where the heart rate after using SCBA was increased from before using SCBA. The difference (Delta) of heart rate between steel and carbon fiber SCBA was not statistically significantly different at 95 % confidence interval level (p = 0.237). The sweat loss before and after using steel SCBA was statistically significantly different at 95 % confidence interval level (p < 0.001) where the body weight (nude) after using SCBA was decreased from before using SCBA. The sweat loss before and after using carbon fiber SCBA was statistically significantly different at 95 % confidence interval level (p < 0.001) where the body weight (nude) after using SCBA was decreased from before using SCBA. The difference (Delta) of sweat loss between steel and carbon fiber SCBA was not statistically significantly different at 95 % confidence interval level (p = 0.580). The fatigue in all body parts between using steel and carbon fiber SCBA was statistically significantly different at 95 % confidence interval level (p = 0.006) where the using steel SCBA caused more fatigue. The results from this study show that the use of steel and carbon fiber SCBA had no different effects on heart rate and sweat loss, but found the differences on fatigue when using different types of SCBA, because in this study the rescue operation was done within only 10 minutes which is a shorter duration than the duration in actual rescue or firefighting operation.
SCBA (Self-Contained Breathing Apparatus) เป็นถังอากาศที่ใช้สำหรับงานในบริเวณที่มีอากาศไม่เพียงพอ มีก๊าซพิษอยู่ในระดับที่เป็นอันตรายหรือใช้ในงานกู้ภัยต่าง ๆ ซึ่งถังบรรจุอากาศ SCBA แต่เดิมผลิตมาจากเหล็ก มีน้ำหนักมาก ใช้งานไม่สะดวก ต่อมามีการลดน้ำหนักของถังบรรจุลง จึงได้มีการใช้วัสดุต่าง ๆ ที่เบามาผลิต ซึ่งแบบล่าสุดและเบาที่สุดของถังบรรจุอากาศ SCBA เป็นแบบชนิดถังคาร์บอนไฟเบอร์ การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบการใช้ SCBA แบบชนิดถังเหล็กกับชนิดถังคาร์บอนไฟเบอร์ในพนักงานดับเพลิง โดยให้พนักงานดับเพลิงทำการทดลองปฏิบัติการกู้ภัยภายในห้องฝึก ซึ่งได้จำลองสถานการณ์การกู้ภัยขึ้นมา ผลการวิจัยพบว่า อัตราการเต้นหัวใจก่อนและหลังจากการใช้ SCBA แบบชนิดถังเหล็กมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% (p < 0.001) โดยหลังทดลองเพิ่มสูงขึ้นกว่าก่อนทดลอง อัตราการเต้นหัวใจก่อนและหลังจากการใช้ SCBA แบบชนิดถังคาร์บอนไฟเบอร์มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% (p < 0.001) โดยหลังทดลองเพิ่มสูงขึ้นกว่าก่อนทดลอง และความแตกต่าง (Delta) ของอัตราการเต้นหัวใจจากการใช้ SCBA แบบชนิดถังเหล็กกับชนิดถังคาร์บอนไฟเบอร์ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% (p = 0.237) ส่วนการสูญเสียเหงื่อก่อนและหลังจากการใช้ SCBA แบบชนิดถังเหล็กมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% (p < 0.001) โดยหลังทดลองมีน้ำหนักตัวลดลงจากก่อนทดลอง การสูญเสียเหงื่อก่อนและหลังจากการใช้ SCBA แบบชนิดถังคาร์บอนไฟเบอร์มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% (p < 0.001) โดยหลังทดลองมีน้ำหนักตัวลดลงจากก่อนทดลอง และความแตกต่าง (Delta) ของการสูญเสียเหงื่อจากการใช้ SCBA แบบชนิดถังเหล็กกับชนิดถังคาร์บอนไฟเบอร์ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% (p = 0.580) ส่วนความเมื่อยล้าของร่างกายมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% (p = 0.006) โดยเมื่อใช้ SCBA แบบชนิดถังเหล็กรู้สึกเมื่อยล้ามากกว่า จากผลการศึกษาครั้งนี้ พบว่า SCBA แบบชนิดถังเหล็กกับชนิดถังคาร์บอนไฟเบอร์เมื่อใช้ปฏิบัติงานแล้วไม่พบความแตกต่างกันของอัตราการเต้นหัวใจและการสูญเสียเหงื่อ แต่พบความแตกต่างกันของความเมื่อยล้า เนื่องจากการศึกษาครั้งนี้ปฏิบัติการกู้ภัยภายในห้องฝึกใช้ระยะเวลาสั้นเพียง 10 นาที แต่การปฏิบัติงานจริงของพนักงานดับเพลิงจะใช้ระยะเวลาที่นานกว่านี้
SCBA (Self-Contained Breathing Apparatus) เป็นถังอากาศที่ใช้สำหรับงานในบริเวณที่มีอากาศไม่เพียงพอ มีก๊าซพิษอยู่ในระดับที่เป็นอันตรายหรือใช้ในงานกู้ภัยต่าง ๆ ซึ่งถังบรรจุอากาศ SCBA แต่เดิมผลิตมาจากเหล็ก มีน้ำหนักมาก ใช้งานไม่สะดวก ต่อมามีการลดน้ำหนักของถังบรรจุลง จึงได้มีการใช้วัสดุต่าง ๆ ที่เบามาผลิต ซึ่งแบบล่าสุดและเบาที่สุดของถังบรรจุอากาศ SCBA เป็นแบบชนิดถังคาร์บอนไฟเบอร์ การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบการใช้ SCBA แบบชนิดถังเหล็กกับชนิดถังคาร์บอนไฟเบอร์ในพนักงานดับเพลิง โดยให้พนักงานดับเพลิงทำการทดลองปฏิบัติการกู้ภัยภายในห้องฝึก ซึ่งได้จำลองสถานการณ์การกู้ภัยขึ้นมา ผลการวิจัยพบว่า อัตราการเต้นหัวใจก่อนและหลังจากการใช้ SCBA แบบชนิดถังเหล็กมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% (p < 0.001) โดยหลังทดลองเพิ่มสูงขึ้นกว่าก่อนทดลอง อัตราการเต้นหัวใจก่อนและหลังจากการใช้ SCBA แบบชนิดถังคาร์บอนไฟเบอร์มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% (p < 0.001) โดยหลังทดลองเพิ่มสูงขึ้นกว่าก่อนทดลอง และความแตกต่าง (Delta) ของอัตราการเต้นหัวใจจากการใช้ SCBA แบบชนิดถังเหล็กกับชนิดถังคาร์บอนไฟเบอร์ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% (p = 0.237) ส่วนการสูญเสียเหงื่อก่อนและหลังจากการใช้ SCBA แบบชนิดถังเหล็กมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% (p < 0.001) โดยหลังทดลองมีน้ำหนักตัวลดลงจากก่อนทดลอง การสูญเสียเหงื่อก่อนและหลังจากการใช้ SCBA แบบชนิดถังคาร์บอนไฟเบอร์มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% (p < 0.001) โดยหลังทดลองมีน้ำหนักตัวลดลงจากก่อนทดลอง และความแตกต่าง (Delta) ของการสูญเสียเหงื่อจากการใช้ SCBA แบบชนิดถังเหล็กกับชนิดถังคาร์บอนไฟเบอร์ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% (p = 0.580) ส่วนความเมื่อยล้าของร่างกายมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% (p = 0.006) โดยเมื่อใช้ SCBA แบบชนิดถังเหล็กรู้สึกเมื่อยล้ามากกว่า จากผลการศึกษาครั้งนี้ พบว่า SCBA แบบชนิดถังเหล็กกับชนิดถังคาร์บอนไฟเบอร์เมื่อใช้ปฏิบัติงานแล้วไม่พบความแตกต่างกันของอัตราการเต้นหัวใจและการสูญเสียเหงื่อ แต่พบความแตกต่างกันของความเมื่อยล้า เนื่องจากการศึกษาครั้งนี้ปฏิบัติการกู้ภัยภายในห้องฝึกใช้ระยะเวลาสั้นเพียง 10 นาที แต่การปฏิบัติงานจริงของพนักงานดับเพลิงจะใช้ระยะเวลาที่นานกว่านี้
Description
Occupational Health and Safety (Mahidol University 2015)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Public Health
Degree Discipline
Occupational Health and Safety
Degree Grantor(s)
Mahidol University