Paper-based versus electronic data capture tool for malaria vector control survey among Karen Hill tribe population
Issued Date
2014
Copyright Date
2014
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xiv, 151 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thematic Paper (M.Sc. (Biomedical and Health Informatics))--Mahidol University, 2014
Suggested Citation
Siriporn Monyarit Paper-based versus electronic data capture tool for malaria vector control survey among Karen Hill tribe population. Thematic Paper (M.Sc. (Biomedical and Health Informatics))--Mahidol University, 2014. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/95216
Title
Paper-based versus electronic data capture tool for malaria vector control survey among Karen Hill tribe population
Alternative Title(s)
แบบสอบถามรูปแบบกระดาษกับเครื่องมือเก็บข้อมูลแบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการสำรวจข้อมูลการควบคุมพาหะนำโรคมาลาเรียในประชากรชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยง
Author(s)
Abstract
Objectives: The present study aims to develop and implement an electronic data capture tool (EDC) for use in malaria vector control survey among the Karen hill tribe population, a minority group in Thailand, who are considered as the high risk population for malaria. The user acceptance of EDC was also measured. Furthermore, the purpose of this study is to compare between using the EDC and the paper-based method for data collection in terms of the satisfaction and the time consumed. The last objective was to explore the strengths and weaknesses of using both methods for data collection. Methods: The study was conducted in two villages of Suan Pheung district. The paper-based questionnaire and EDC were developed using the same questionnaire structure. Thirty community health volunteers were divided into two groups. Each groups used both methods to collect data from Karen respondents following the randomized cross-over design. Then, the time consumed, the users' satisfaction and interviewees' satisfaction between the two methods were assessed using the questionnaire and compared. The user acceptance of EDC was also assessed using the questionnaire and described statistically. Three focus group discussions were also conducted among the community health volunteers to explore the strengths and weaknesses of both methods. Results: The development and implementation of the EDC were successful. Using EDC was more time consuming than the paper-based questionnaire. Both interviewers and interviewees were, however, more satisfied with EDC than the paper-based questionnaire. Both methods have their own strengths and weaknesses. The EDC was an acceptable method for data collection and proved the more appropriate tool for the present study.
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและทดลองใช้เครื่องมือเก็บข้อมูลแบบอิเล็กทรอนิกส์ในการสารวจข้อมูลการควบคุมพาหะนาโรคมาลาเรียในประชากรชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยง ซึ่งถือเป็นหนึ่งในกลุ่มชาติพันธุ์ชนกลุ่มน้อยในประเทศไทย และมีความเสี่ยงในการติดเชื้อมาลาเรีย รวมถึงประเมินการยอมรับต่อเครื่องมือที่พัฒนาขึ้น นอกจากนี้ยังมีการเปรียบเทียบระยะเวลาที่ใช้ในการเก็บข้อมูล และความพึงพอใจ ระหว่างการใช้เครื่องมือเก็บข้อมูลแบบอิเล็กทรอนิกส์กับการใช้แบบสอบถามกระดาษในการเก็บข้อมูล รวมไปถึงการค้นหาจุดแข็ง และจุดอ่อนของเครื่องมือแต่ละแบบเมื่อใช้เก็บข้อมูล การศึกษาได้ดาเนินการในพื้นที่สองหมู่บ้านของตาบลตะนาวศรี อาเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี แบบสอบถามกระดาษและรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ถูกพัฒนาขึ้นโดยใช้โครงสร้างแบบสอบถามเดียวกัน จากนั้นอาสาสมัครสาธารณสุขชุมชน 30 คน ได้ถูกแบ่งเป็นสองกลุ่มเพื่อใช้เครื่องมือทั้งสองรูปแบบสัมภาษณ์ประชากรชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยงในลาดับที่กลับกันตามรูปแบบการศึกษาเชิงทดลองแบบไขว้ จากนั้นระยะเวลาที่ใช้ในการเก็บข้อมูล และความพึงพอใจทั้งในผู้ที่ให้สัมภาษณ์ และผู้ที่ใช้เครื่องมือในการสัมภาษณ์ได้ถูกประเมินโดยใช้แบบสอบถามแล้วจึงนามาเปรียบเทียบระหว่างเครื่องมือทั้งสองแบบ นอกจากนี้ยังมีการใช้แบบสอบถามประเมินการยอมรับต่อเครื่องมือเก็บข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ของอาสาสมัครสาธารณสุขชุมชน และจัดการสนทนากลุ่มขึ้นเพื่อค้นหาจุดแข็ง และจุดอ่อนของเครื่องมือแต่ละแบบ ผลการศึกษาพบว่าการพัฒนาและทดลองใช้เครื่องมือเก็บข้อมูลแบบอิเล็กทรอนิกส์นั้นประสบความสาเร็จ การใช้เครื่องมือเก็บข้อมูลแบบอิเล็กทรอนิกส์ใช้เวลาเพื่อเก็บข้อมูลมากกว่าแบบสอบถามกระดาษ อย่างไรก็ตามทั้งฝ่ายผู้ที่ใช้เครื่องมือสัมภาษณ์และผู้ให้สัมภาษณ์ต่างก็พึงพอใจต่อเครื่องมือเก็บข้อมูลในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์มากกว่าแบบกระดาษ เครื่องมือทั้งสองแบบมีทั้งข้อเด่นและข้อด้อย สาหรับการศึกษาครั้งนี้เครื่องมือเก็บข้อมูลแบบอิเล็กทรอนิกส์เป็นเครื่องมือที่อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนให้การยอมรับและมีความเหมาะสมในการใช้เก็บข้อมูลมากกว่าแบบสอบถามกระดาษ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและทดลองใช้เครื่องมือเก็บข้อมูลแบบอิเล็กทรอนิกส์ในการสารวจข้อมูลการควบคุมพาหะนาโรคมาลาเรียในประชากรชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยง ซึ่งถือเป็นหนึ่งในกลุ่มชาติพันธุ์ชนกลุ่มน้อยในประเทศไทย และมีความเสี่ยงในการติดเชื้อมาลาเรีย รวมถึงประเมินการยอมรับต่อเครื่องมือที่พัฒนาขึ้น นอกจากนี้ยังมีการเปรียบเทียบระยะเวลาที่ใช้ในการเก็บข้อมูล และความพึงพอใจ ระหว่างการใช้เครื่องมือเก็บข้อมูลแบบอิเล็กทรอนิกส์กับการใช้แบบสอบถามกระดาษในการเก็บข้อมูล รวมไปถึงการค้นหาจุดแข็ง และจุดอ่อนของเครื่องมือแต่ละแบบเมื่อใช้เก็บข้อมูล การศึกษาได้ดาเนินการในพื้นที่สองหมู่บ้านของตาบลตะนาวศรี อาเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี แบบสอบถามกระดาษและรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ถูกพัฒนาขึ้นโดยใช้โครงสร้างแบบสอบถามเดียวกัน จากนั้นอาสาสมัครสาธารณสุขชุมชน 30 คน ได้ถูกแบ่งเป็นสองกลุ่มเพื่อใช้เครื่องมือทั้งสองรูปแบบสัมภาษณ์ประชากรชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยงในลาดับที่กลับกันตามรูปแบบการศึกษาเชิงทดลองแบบไขว้ จากนั้นระยะเวลาที่ใช้ในการเก็บข้อมูล และความพึงพอใจทั้งในผู้ที่ให้สัมภาษณ์ และผู้ที่ใช้เครื่องมือในการสัมภาษณ์ได้ถูกประเมินโดยใช้แบบสอบถามแล้วจึงนามาเปรียบเทียบระหว่างเครื่องมือทั้งสองแบบ นอกจากนี้ยังมีการใช้แบบสอบถามประเมินการยอมรับต่อเครื่องมือเก็บข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ของอาสาสมัครสาธารณสุขชุมชน และจัดการสนทนากลุ่มขึ้นเพื่อค้นหาจุดแข็ง และจุดอ่อนของเครื่องมือแต่ละแบบ ผลการศึกษาพบว่าการพัฒนาและทดลองใช้เครื่องมือเก็บข้อมูลแบบอิเล็กทรอนิกส์นั้นประสบความสาเร็จ การใช้เครื่องมือเก็บข้อมูลแบบอิเล็กทรอนิกส์ใช้เวลาเพื่อเก็บข้อมูลมากกว่าแบบสอบถามกระดาษ อย่างไรก็ตามทั้งฝ่ายผู้ที่ใช้เครื่องมือสัมภาษณ์และผู้ให้สัมภาษณ์ต่างก็พึงพอใจต่อเครื่องมือเก็บข้อมูลในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์มากกว่าแบบกระดาษ เครื่องมือทั้งสองแบบมีทั้งข้อเด่นและข้อด้อย สาหรับการศึกษาครั้งนี้เครื่องมือเก็บข้อมูลแบบอิเล็กทรอนิกส์เป็นเครื่องมือที่อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนให้การยอมรับและมีความเหมาะสมในการใช้เก็บข้อมูลมากกว่าแบบสอบถามกระดาษ
Description
Biomedical and Health Informatics (Mahidol University 2014)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Tropical Medicine
Degree Discipline
Biomedical and Health Informatics
Degree Grantor(s)
Mahidol University