The study of sleep behaviour and health literacy in adulthood
Issued Date
2024
Copyright Date
2018
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
x, 76 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Suggested Citation
Kanchana Wongnirmaikul (2024). The study of sleep behaviour and health literacy in adulthood. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91598
Title
The study of sleep behaviour and health literacy in adulthood
Alternative Title(s)
การศึกษาพฤติกรรมการนอนและความรอบรู้ด้านสุขภาพในวัยผู้ใหญ่
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
This is a cross-sectional study which aims to investigate and describe the association among health literacy, sleep behavior and demographic data in adulthood. Secondary data from the survey research of Regional Health Promotion Center 3, Nakhon Sawan on the topic of survey of the current situation and health behavior of population has been applied to this study. The data included a sample of 2,432 people aged between 20-59. Statistics used were percentage, mean, standard deviation, Chi-Square and One-way ANOVA. The results show that 39.6% of the subjects have low health literacy, 23% reported had short sleep duration and 37.5% had sleep problem. Regarding the demographic data, this study found that sleep duration was associated with gender, education level, income and BMI (p=0.05). The study found out that the relationship between sleep problem and demographics data follows gender, marital status, education level, income, chronic illness, age and area. The relationship between health literacy and demographic data follows gender, marriage status, education levels, areas, careers, chronic illness, age and BMI levels (p=0.05). Lastly, sleep duration and sleep problem were not related significantly with health literacy at significance level of 0.05.
การวิจัยนี้เป็นการศึกษาแบบภาพตัดขวาง เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้สุขภาพและพฤติกรรมการนอนในวัยผู้ใหญ่ โดยใช้ปัจจัยส่วนบุคคลมาร่วมวิเคราะห์ โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิจากงานวิจัยเชิงสำรวจของศูนย์อนามัยเขต 3 นครสวรรค์ในหัวข้อการศึกษาการ สำรวจสถานการณ์และพฤติกรรมสุขภาพประชาชนในวัยทำงานซึ่งมีอายุ 20-59 ปี จำนวน 2,432 คน และการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละ, ค่าเฉลี่ย, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน, ไค-สแควร์ และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว จากผลการวิจัยพบว่ากลุ่มตัวอย่างร้อยละ 39.6 มีระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพระดับต่ำ กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 23 มีระยะการนอนที่ต่ำกว่าเกณฑ์ และร้อยละ 37.5 มีปัญหาการนอน เมื่อพิจารณาปัจจัยส่วนบุคคลพบว่าระยะเวลาการนอนมีความสัมพันธ์กับเพศ ระดับการศึกษา รายได้ และดัชนีมวลกาย ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 แต่เมื่อพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างปัญหาการนอนพบว่ามีความสัมพันธ์กับ เพศ สถานะภาพสมรส ระดับการศึกษา รายได้ โรคประจำตัว อายุ และพื้นที่ ที่ระดับนัยสำคัญที่ 0.05 โดยความรอบรู้สุขภาพมีความสัมพันธ์กับเพศ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา พื้นที่ อาชีพ โรคประจำตัว อายุ และดัชนีมวลกายที่ระดับนัยสำคัญที่ 0.05 ในส่วนพฤติกรรมการนอนพบว่าไม่มีความสัมพันธ์กับความรอบรู้สุขภาพที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05
การวิจัยนี้เป็นการศึกษาแบบภาพตัดขวาง เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้สุขภาพและพฤติกรรมการนอนในวัยผู้ใหญ่ โดยใช้ปัจจัยส่วนบุคคลมาร่วมวิเคราะห์ โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิจากงานวิจัยเชิงสำรวจของศูนย์อนามัยเขต 3 นครสวรรค์ในหัวข้อการศึกษาการ สำรวจสถานการณ์และพฤติกรรมสุขภาพประชาชนในวัยทำงานซึ่งมีอายุ 20-59 ปี จำนวน 2,432 คน และการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละ, ค่าเฉลี่ย, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน, ไค-สแควร์ และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว จากผลการวิจัยพบว่ากลุ่มตัวอย่างร้อยละ 39.6 มีระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพระดับต่ำ กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 23 มีระยะการนอนที่ต่ำกว่าเกณฑ์ และร้อยละ 37.5 มีปัญหาการนอน เมื่อพิจารณาปัจจัยส่วนบุคคลพบว่าระยะเวลาการนอนมีความสัมพันธ์กับเพศ ระดับการศึกษา รายได้ และดัชนีมวลกาย ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 แต่เมื่อพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างปัญหาการนอนพบว่ามีความสัมพันธ์กับ เพศ สถานะภาพสมรส ระดับการศึกษา รายได้ โรคประจำตัว อายุ และพื้นที่ ที่ระดับนัยสำคัญที่ 0.05 โดยความรอบรู้สุขภาพมีความสัมพันธ์กับเพศ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา พื้นที่ อาชีพ โรคประจำตัว อายุ และดัชนีมวลกายที่ระดับนัยสำคัญที่ 0.05 ในส่วนพฤติกรรมการนอนพบว่าไม่มีความสัมพันธ์กับความรอบรู้สุขภาพที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05
Description
Human Development (Mahidol University 2018)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Masters
Degree Department
Faculty of Science
Degree Discipline
Human Development
Degree Grantor(s)
Mahidol University