Participatory implementation plan in electricity reduction of Dusit Rajabhat University
Issued Date
2014
Copyright Date
2014
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
x,117 leaves
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Technology of Environmental Management))--Mahidol University, 2014
Suggested Citation
Nipon Taksin Participatory implementation plan in electricity reduction of Dusit Rajabhat University. Thesis (M.Sc. (Technology of Environmental Management))--Mahidol University, 2014. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/95244
Title
Participatory implementation plan in electricity reduction of Dusit Rajabhat University
Alternative Title(s)
การวางแผนปฏิบัติการลดการใช้พลังงานไฟฟ้าแบบมีส่วนร่วมของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
The purpose of this research is to study the current electricity usage at Suan Dusit Rajabhat University. Moreover, this research aims to develop policies, objectives, measures and plans to reduce electricity usage. The development should be done through a participatory process. The qualitative research method that was implemented in this research was through a focus group discussion. The quantitative method was implemented in this research through the distribution of questionnaires. The sample size for the questionnaire (divided into 6 groups) were 991 samples. The results of the research can be shown as : The electricity usage of Suan Dusit Rajabhat University is vary with an increase of student population.. However, the University administration has adopted a policy of energy conservation from the Ministry of energy. There are measures to reduce the use of electricity through out, which it makes the University's electricity usage decline. In the survey of electricity saving behaviors of professors, staff and students, it revealed that all samples alert and cooperate in practice about saving electricity. There are only some students, who are not cooperative. From the focus group discussion, it was determined that the Electricity Saving Management Group will maintain the original policy, which contains 6 items, without providing any alterations The Electricity Saving Working Group has brainstormed ideas that would be 13 electricity reduction measures for the University's electricity saving policy. Every item will have a supporting implementation plan to make sure that the measures can be driven into real actions.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์ปัจจุบันของการใช้ไฟฟ้าของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต และเพื่อกำหนดนโยบาย เป้าหมาย มาตรการ และร่วมกันวางแผนปฏิบัติการลดการใช้ไฟฟ้าของโดย ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วม โดยมีขั้นตอนทั้งการวิจัยเชิงคุณภาพ จากการสนทนากลุ่มและการวิจัยเชิงปริมาณโดยใช้แบบสำรวจ และแบบสอบถาม โดยมีกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการใช้พลังงานไฟฟ้าของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต 6 กลุ่ม จำนวนรวม 991 คน ผลการวิจัยมีดังนี้ สถานการณ์การใช้พลังงานไฟฟ้าของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ผันแปรตามจำนวนนักศึกษาที่เพิ่มขึ้น ทำให้มีการใช้ไฟฟ้ามากขึ้นด้วย และเมื่อเกิดโครงการลดการใช้พลังงานในภาคราชการของรัฐบาล ผู้บริหารมหาวิทยาลัยจึงได้รับนโยบายอนุรักษ์พลังงานจากกระทรวงพลังงานมาใช้ โดยกำหนดมาตรการลดการใช้ พลังงานต่างๆ ออกมา ทำให้การใช้ไฟฟ้าของมหาวิทยาลัยลดลง จากผลการสำรวจพฤติกรรมการประหยัดพลังงานไฟฟ้าของอาจารย์ เจ้าหน้าที่ และนักศึกษา สามารถสื่อให้เห็นว่าทุกกลุ่มตัวอย่างตื่นตัวและให้ความร่วมมือในการปฏิบัติเกี่ยวกับการประหยัดพลังงานไฟฟ้ามีเพียงนักศึกษาบางส่วนเท่านั้นที่ยังไม่ค่อยตื่นตัวและให้ความร่วมมือด้านนโยบายการลดการใช้พลังงานไฟฟ้า ปรากฏว่า คณะทำงานด้านการจัดการพลังงานของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ระดับผู้บริหาร มีมติให้คงนโยบายเดิม 6 ข้อไว้ ส่วนมาตรการและแผนปฏิบัติการลดการใช้พลังงานไฟฟ้า คณะทำงานด้านการจัดการพลังงานของมหาวิทยาลัยในระดับหน่วยงาน ได้ร่วมกันวางแผนปฏิบัติการในการขับเคลื่อนนโยบายทั้ง 6 ข้อได้ออกมาทั้งสิ้น 13 แผนงาน
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์ปัจจุบันของการใช้ไฟฟ้าของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต และเพื่อกำหนดนโยบาย เป้าหมาย มาตรการ และร่วมกันวางแผนปฏิบัติการลดการใช้ไฟฟ้าของโดย ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วม โดยมีขั้นตอนทั้งการวิจัยเชิงคุณภาพ จากการสนทนากลุ่มและการวิจัยเชิงปริมาณโดยใช้แบบสำรวจ และแบบสอบถาม โดยมีกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการใช้พลังงานไฟฟ้าของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต 6 กลุ่ม จำนวนรวม 991 คน ผลการวิจัยมีดังนี้ สถานการณ์การใช้พลังงานไฟฟ้าของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ผันแปรตามจำนวนนักศึกษาที่เพิ่มขึ้น ทำให้มีการใช้ไฟฟ้ามากขึ้นด้วย และเมื่อเกิดโครงการลดการใช้พลังงานในภาคราชการของรัฐบาล ผู้บริหารมหาวิทยาลัยจึงได้รับนโยบายอนุรักษ์พลังงานจากกระทรวงพลังงานมาใช้ โดยกำหนดมาตรการลดการใช้ พลังงานต่างๆ ออกมา ทำให้การใช้ไฟฟ้าของมหาวิทยาลัยลดลง จากผลการสำรวจพฤติกรรมการประหยัดพลังงานไฟฟ้าของอาจารย์ เจ้าหน้าที่ และนักศึกษา สามารถสื่อให้เห็นว่าทุกกลุ่มตัวอย่างตื่นตัวและให้ความร่วมมือในการปฏิบัติเกี่ยวกับการประหยัดพลังงานไฟฟ้ามีเพียงนักศึกษาบางส่วนเท่านั้นที่ยังไม่ค่อยตื่นตัวและให้ความร่วมมือด้านนโยบายการลดการใช้พลังงานไฟฟ้า ปรากฏว่า คณะทำงานด้านการจัดการพลังงานของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ระดับผู้บริหาร มีมติให้คงนโยบายเดิม 6 ข้อไว้ ส่วนมาตรการและแผนปฏิบัติการลดการใช้พลังงานไฟฟ้า คณะทำงานด้านการจัดการพลังงานของมหาวิทยาลัยในระดับหน่วยงาน ได้ร่วมกันวางแผนปฏิบัติการในการขับเคลื่อนนโยบายทั้ง 6 ข้อได้ออกมาทั้งสิ้น 13 แผนงาน
Description
Technology of Environmental Management (Mahidol University 2014)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Environment and Resource Studies
Degree Discipline
Technology of Environmental Management
Degree Grantor(s)
Mahidol University