Cross validation of body density equations in Thai male aged between 16-22 years

dc.contributor.advisorChumpol Pholpramool
dc.contributor.advisorKallaya Kijboonchoo
dc.contributor.advisorPipat Chredrungsi
dc.contributor.authorSupaporn Silalertdetkul
dc.date.accessioned2025-02-03T07:45:47Z
dc.date.available2025-02-03T07:45:47Z
dc.date.copyright1999
dc.date.created2025
dc.date.issued1999
dc.descriptionPhysiology of Exercise (Mahidol University 1999)
dc.description.abstractThe present study aimed to investigate subcutaneous adipose tissue distribution and cross-validate Durnin and Womersleys, Pollocks, Jackson and Pollocks and Taharas equations which estimate body density by using skinfold thickness for Thai males. One hundred and ten male volunteers aged between 16 to 22 years, both athletes and sedentary subjects, were recruited from freshmen at Mahidol University. Skinfold thickness was measured by using Harpenden calipers at eleven sites on the right side of the body. Body density was determined by underwater weighing using a load cell and an IBM compatible data processor while the residual volume was calculated from Chuans equation. Skinfold thickness of the sedentary males had less triceps, mid-thigh and medial calf skinfold thicknesses than athletes. In contrast, body density of the athletes (1.064±0.003 g/ml, mean±SEM) was greater than the sedentary controls (1.057±0.002 g/ml). Percent body fat calculated by Brozek formula for the athletes group (16.36±1.11%) was less than sedentary controls (18.21±0.84%) while the lean body mass of sedentary controls (49.96±0.82 kg) were less than atheletes (54.76±0.95 kg). Body density and fat distribution of Thai male subjects were different from those of the Caucasian and the Japanese. When the well established equations for Caucasian and Japanese were cross-validated on Thai males, the validity coefficients ranged from 0.21-0.54 where as the standard error of estimate and total error ranged from 0.0114-0.0125 and 0.1073-0.4570 g/ml, respectively. The results suggest that the existing equations derived from Caucasian or Japanese may not be accurate to predict body density in Thai males.
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการสะสมไขมันใต้ผิวหนังตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายและตรวจสอบสมการที่ใช้หาความหนาแน่นของร่างกายโดยใช้ความหนาของชั้น ไขมันใต้ผิวหนังเป็นตัวกำหนดได้แก่สมการของ Durnin และ Womersley, Pollock, Jackson และ Pollock และ Tahara ว่าสามารถใช้หาความหนาแน่นของร่างกาย ในคนไทยได้หรือไม่ กลุ่มตัวอย่างประชากรที่ศึกษาเป็นนักศึกษาชายชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยมหิดล ที่มีอายุระหว่าง 16-22 ปี จำนวน 110 คน โดยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือนักกีฬามหาวิทยาลัยและนักศึกษาทั่วไป ได้ทำการวัดความหนาของชั้นไขมันใต้ผิวหนัง จำนวน 11 จุด โดยใช้ Harpenden caliper และวัดความหนาแน่นของร่างกายโดยการ ชั่งน้ำหนักใต้น้ำของอาสาสมัครทุกคน จากการวิจัยครั้งนี้พบว่าความหนาของไขมัน ใต้ผิวหนังบริเวณท่อนแขนบนด้านหลัง, ต้นขาด้านหน้าและน่องด้านในของนักกีฬาน้อยกว่า กลุ่มที่ไม่ได้เล่นกีฬา ความหนาแน่นของร่างกายในกลุ่มนักกีฬา (1.064±0.003 กรัม/มิลลิลิตร) มีค่ามากกว่ากลุ่มที่ไม่ได้เป็นนักกีฬามหาวิทยาลัย (1.057±0.002 กรัม/มิลลิลิตร) ส่วนเปอร์เซ็นต์ของไขมันของกลุ่มนักกีฬา (16.36±1.11%) มีค่า น้อยกว่ากลุ่มที่ไม่ได้เป็นนักกีฬามหาวิทยาลัย ในขณะที่ส่วนที่ไม่ใช่ไขมันของกลุ่มที่ไม่ได้ เล่นกีฬามหาวิทยาลัย (49.96±0.82 kg) น้อยกว่ากลุ่มที่เป็นนักกีฬา (54.76±0.95 kg) เมื่อวิเคราะห์การสะสมไขมันใต้ผิวหนังตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายและความหนานแน่น ร่างกายในชายไทย พบว่ามีความแตกต่างจากที่ศึกษาในชาวคอเคเชียนและญี่ปุ่น ขณะเดียวกัน ผลการทดสอบสมการที่ใช้หาความหนาแน่นร่างกายของชาวคอเคเชียนและญี่ปุ่นว่าสามารถทำนาย ความหนาแน่นของร่างกายในชายไทยได้หรือไม่ พบว่าสหสัมพันธ์อยู่ในช่วง 0.21-0.54 และ ความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการประมาณค่าอยู่ในช่วง 0.0114-0.0125 กรัม/มิลลิลิตร ขณะที่ค่าความคลาดเคลื่อนทั้งหมดอยู่ในช่วง 0.0173-0.4570 กรัม/มิลลิลิตร ผลการศึกษาครั้งนี้แสดงว่าสมการที่ใช้หาความหนาแน่นร่างกายสำหรับชายชาวคอเคเชียนและ ญี่ปุ่นไม่สามารถประยุกต์ใช้ได้สำหรับชายหนุ่มไทย
dc.format.extentxii, 97 leaves : ill.
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationThesis (M.Sc. (Physiology of Exercise))--Mahidol University, 1999
dc.identifier.isbn9746631276
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/103549
dc.language.isoeng
dc.publisherMahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderMahidol University
dc.subjectBody composition
dc.subjectSkinfold Thickness
dc.titleCross validation of body density equations in Thai male aged between 16-22 years
dc.title.alternativeการทดสอบสมการที่ใช้หาความหนาแน่นของร่างกายว่าสามารถใช้กับชายไทยอายุ 16-22 ปีได้หรือไม่
dc.typeMaster Thesis
dcterms.accessRightsopen access
mods.location.urlhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/scan/3936403.pdf
thesis.degree.departmentFaculty of Science
thesis.degree.disciplinePhysiology of Exercise
thesis.degree.grantorMahidol University
thesis.degree.levelMaster's degree
thesis.degree.nameMaster of Science

Files