Developing aftercare treatment for the newly released female inmates in Thailand
Issued Date
2024
Copyright Date
2020
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
x, 209 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (Ph.D. (Criminology, Justice Administration and Society))--Mahidol University, 2020
Suggested Citation
Sirilak Pongchoke Developing aftercare treatment for the newly released female inmates in Thailand. Thesis (Ph.D. (Criminology, Justice Administration and Society))--Mahidol University, 2020. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92261
Title
Developing aftercare treatment for the newly released female inmates in Thailand
Alternative Title(s)
การพัฒนาการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังหญิงหลังพ้นโทษในประเทศไทย
Author(s)
Abstract
This mixed-method study entitled "Developing aftercare treatment for the newly released female inmates in Thailand" aims to 1) find out the problem and impediment of the present operation, the needs of the newly released female inmates, and the factors affecting the achievement of the rehabilitation programs of Department of Corrections, 2) improve the treatment system towards the newly released female inmates and develop the appropriate aftercare treatment for the newly released female inmates. The documents, indepth interview, focus group, and questionnaire were utilized in data collection from those executives of Department of Corrections and Department of Probation and the scholars in the total of 10. The in-depth interview was still conducted with 3 newly released female inmates and the focus group was conducted with 15 operators of Department of Corrections while the questionnaire were answered by 280 female inmates who are going to be released. From the study, it is revealed that the government has the policy in taking care of as well as rehabilitating the newly released female inmates through the operation approach based on the integration of networks and a social sector in order to monitor and favor those newly released female inmates in the 2017 - 2021 fiscal year. They also have the correcting, rehabilitating, monitoring, assisting measures for the offenders in the community at the office level. In addition, they still have the Phiboon Songkhroh foundation functioning in helping the newly released female inmates under the supervision of Department of Correction administration. Nonetheless, the problems that Department of Corrections are facing start from screening, assessing, and rehabilitating the inmates. These are the consequences of the inmate overflow of the prison. Apart from this, the problem in concretely monitoring and assessing the newly released female inmates is still found in the study.
การพัฒนาการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังหญิงหลังพ้นโทษในประเทศไทย" เป็นการศึกษาวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Method) มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังหญิงหลังพ้นโทษจากทัณฑสถานและความต้องการของผู้ต้องขังหญิงภายหลังพ้นโทษปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการปรับพฤติกรรมผู้พ้นโทษเพื่อคืนคนดีสู่สังคมของกรมราชทัณฑ์และ 2) ปรับปรุงระบบการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังหญิงหลังพ้นโทษ และนำไปสู่แนวทางการพัฒนาการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังหญิงหลังพ้นโทษในประเทศไทย โดยศึกษาเอกสารด้านสถานการณ์ในประเทศไทยและต่างประเทศ สัมภาษณ์ผู้บริหารในหน่วยงานราชทัณฑ์ กรมคุมประพฤติ และนักวิชาการแบบเจาะลึก (In-depth Interview) จำนวน 10 คน ผู้ต้องขังหญิงที่พ้นโทษจำนวน 3 คน การประชุมกลุ่มย่อยผู้ปฏิบัติงาน (Focus group) จำนวน 15 คน จากนั้นพัฒนาแบบสอบถาม (Questionnaire) เพื่อประเมินความต้องการของผู้ต้องขังหญิง กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ต้องขังหญิงที่กำลังจะพ้นโทษ จำนวน 280 คน จากการศึกษาพบว่า รัฐบาลมีนโยบายในการดูแลแก้ไขฟื้นฟูผู้ต้องขังหลังพ้นโทษโดยมีแนวทางตามแผนบูรณาการเครือข่ายภาคสังคมเพื่อติดตามช่วยเหลือผู้พ้นโทษ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560-2564 รวมถึงมาตรการในชุมชนระดับหน่วยงาน อีกทั้งยังมีมูลนิธิพิบูลย์สงเคราะห์ที่ทำงานด้านการสงเคราะห์ผู้ต้องขังหลังพ้นโทษภายใต้การบริหารงานของกรมราชทัณฑ์อย่างไรก็ตามปัญหาที่กรมราชทัณฑ์กำลังเผชิญอยู่นั้นเริ่มต้นจากการคัดกรอง ประเมินและฟื้นฟูผู้ต้องขัง อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากปัญหาผู้ต้องขังล้นเรือนจำ นอกจากนี้ยังพบปัญหาในการติดตามและประเมินผู้ต้องขังหลังพ้นโทษอย่างเป็นรูปธรรม
การพัฒนาการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังหญิงหลังพ้นโทษในประเทศไทย" เป็นการศึกษาวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Method) มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังหญิงหลังพ้นโทษจากทัณฑสถานและความต้องการของผู้ต้องขังหญิงภายหลังพ้นโทษปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการปรับพฤติกรรมผู้พ้นโทษเพื่อคืนคนดีสู่สังคมของกรมราชทัณฑ์และ 2) ปรับปรุงระบบการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังหญิงหลังพ้นโทษ และนำไปสู่แนวทางการพัฒนาการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังหญิงหลังพ้นโทษในประเทศไทย โดยศึกษาเอกสารด้านสถานการณ์ในประเทศไทยและต่างประเทศ สัมภาษณ์ผู้บริหารในหน่วยงานราชทัณฑ์ กรมคุมประพฤติ และนักวิชาการแบบเจาะลึก (In-depth Interview) จำนวน 10 คน ผู้ต้องขังหญิงที่พ้นโทษจำนวน 3 คน การประชุมกลุ่มย่อยผู้ปฏิบัติงาน (Focus group) จำนวน 15 คน จากนั้นพัฒนาแบบสอบถาม (Questionnaire) เพื่อประเมินความต้องการของผู้ต้องขังหญิง กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ต้องขังหญิงที่กำลังจะพ้นโทษ จำนวน 280 คน จากการศึกษาพบว่า รัฐบาลมีนโยบายในการดูแลแก้ไขฟื้นฟูผู้ต้องขังหลังพ้นโทษโดยมีแนวทางตามแผนบูรณาการเครือข่ายภาคสังคมเพื่อติดตามช่วยเหลือผู้พ้นโทษ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560-2564 รวมถึงมาตรการในชุมชนระดับหน่วยงาน อีกทั้งยังมีมูลนิธิพิบูลย์สงเคราะห์ที่ทำงานด้านการสงเคราะห์ผู้ต้องขังหลังพ้นโทษภายใต้การบริหารงานของกรมราชทัณฑ์อย่างไรก็ตามปัญหาที่กรมราชทัณฑ์กำลังเผชิญอยู่นั้นเริ่มต้นจากการคัดกรอง ประเมินและฟื้นฟูผู้ต้องขัง อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากปัญหาผู้ต้องขังล้นเรือนจำ นอกจากนี้ยังพบปัญหาในการติดตามและประเมินผู้ต้องขังหลังพ้นโทษอย่างเป็นรูปธรรม
Description
Criminology, Justice Administration and Society (Mahidol University 2020)
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
Faculty of Social Sciences and Humanities
Degree Discipline
Criminology, Justice Administration and Society
Degree Grantor(s)
Mahidol University