การใช้กิจกรรมดนตรีบำบัดเพื่อเพิ่มความทนทานของระบบไหลเวียนเลือดและระบบหายใจในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
dc.contributor.advisor | นัทธี เชียงชะนา | |
dc.contributor.advisor | อำไพ บูรณประพฤกษ์ | |
dc.contributor.author | วสมน ยุติธรรมดำรง | |
dc.date.accessioned | 2024-01-05T02:02:19Z | |
dc.date.available | 2024-01-05T02:02:19Z | |
dc.date.copyright | 2561 | |
dc.date.created | 2561 | |
dc.date.issued | 2567 | |
dc.description | ดนตรี (มหาวิทยาลัยมหิดล 2561) | |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้กิจกรรมดนตรีบำบัดเพื่อเพิ่มความทนทานของระบบไหลเวียนเลือดและระบบหายใจในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ซึ่งผู้เข้าร่วมวิจัยเพศหญิงมีอายุ 35 ปี ใช้ระเบียบวิธีวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi-Experimental Design) รูปแบบ AB single-case design จำนวน 17 ครั้ง ครั้งละ 40 นาที โดยการทดลองประกอบไปด้วย 1) Baseline เป็นการวัดความทนทานของระบบไหลเวียนเลือดและระบบหายใจจากการเดินด้วยเครื่องมือ 6 Minute walk test โดยไม่ได้รับกิจกรรมดนตรีบำบัด จำนวน 4 ครั้ง และ 2) การให้กิจกรรมดนตรีบำบัดเพื่อเพิ่มความทนทานของระบบไหลเวียนเลือดและระบบหายใจ ประเมินโดยการวัดอัตราการเต้นของหัวใจอยู่ที่ 70% - 80% ของอัตราการเต้นหัวใจสูงสุดและวัดความทนทานของระบบไหลเวียนเลือดและระบบหายใจด้วยเครื่อมือ 6 Minute walk test หลังจากการได้รับกิจกรรมดนตรีบำบัด จำนวน 13 ครั้ง ผลการวิจัยพบว่า ในระยะ Baseline (A) ผู้เข้าร่วมวิจัยมีค่าความทนทานของระบบไหลเวียนเลือดและระบบหายใจน้อยกว่าระยะ Music Therapy sessions (B) จากผลการวิจัยสรุปได้ว่ากิจกรรมดนตรีบำบัดสามารถเพิ่มความทนทานของระบบไหลเวียนเลือดและระบบหายใจในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองได้อย่างมีประสิทธิภาพ | |
dc.description.abstract | The purpose of this study was to examine the use of music therapy interventions to increase cardiorespiratory endurance in 35-year-old woman with Stroke. The procedure employed AB single-case design for 17 sessions (40 minutes each). The experiment was organized as two periods which are baseline sessions (A) and music therapy sessions (B). Both were used to measure cardiorespiratory endurance by using 6-minute walk test method. The result showed that the scores of cardiorespiratory endurances in baseline sessions (A) were lower than the scores of music therapy sessions (B). In summary, the results proved that music therapy enhanced the cardiorespiratory endurance of the stroke patient efficiently | |
dc.format.extent | ก-ฑ, 135 แผ่น : ภาพประกอบ | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier.citation | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ดนตรี))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2561 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91894 | |
dc.language.iso | tha | |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยมหิดล. หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล | |
dc.rights | ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า | |
dc.rights.holder | มหาวิทยาลัยมหิดล | |
dc.subject | ดนตรีบำบัด | |
dc.subject | โรคหลอดเลือดสมอง -- ผู้ป่วย | |
dc.subject | กิจกรรมดนตรี | |
dc.subject | หลอดเลือดสมอง -- โรค | |
dc.title | การใช้กิจกรรมดนตรีบำบัดเพื่อเพิ่มความทนทานของระบบไหลเวียนเลือดและระบบหายใจในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง | |
dc.title.alternative | Use of music therapy interventions to increase cardiorespiratory endurance in a stroke patient | |
dc.type | Master Thesis | |
dcterms.accessRights | open access | |
mods.location.url | http://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2561/545/5936004.pdf | |
thesis.degree.department | วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ | |
thesis.degree.discipline | ดนตรี | |
thesis.degree.grantor | มหาวิทยาลัยมหิดล | |
thesis.degree.level | ปริญญาโท | |
thesis.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต |