ดนตรีในการละเล่นเรือมอันเรจังหวัดสุรินทร์
Issued Date
2549
Copyright Date
2549
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ก-ซ, 153 แผ่น : ภาพประกอบ
ISBN
9740473024
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ดนตรี))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2549
Suggested Citation
สุภนิดา พรเอี่ยมมงคล ดนตรีในการละเล่นเรือมอันเรจังหวัดสุรินทร์. วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ดนตรี))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2549. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/94408
Title
ดนตรีในการละเล่นเรือมอันเรจังหวัดสุรินทร์
Alternative Title(s)
Music in Ruam an Ree, a stylized traditional dance in Rurin province Thailand
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
การวิจัยครั้งนี้วิจัยดนตรีประกอบการละเล่นเรือมอันเรจังหวัดสุรินทร์ โดยกระบวนการวิจัยเพื่อ ศึกษาบริบททางสังคมและวัฒนธรรมดนตรีที่ใช้ประกอบและวิเคราะห์ทำนองเพลงประกอบการละเล่นเรือม อันเร ดำเนินการศึกษาภาคสนามระหว่างวันที่ 1 เมษายน 2545 - 30 เมษายน 2547 ผลการวิจัยมีดังนี้ เรือมอันเรเป็นการละเล่นโบราณ ไม่ปรากฏหลักฐานชัดว่าเกิดขึ้นเมื่อใด นิยมเล่นหลังจากเสร็จสิ้น ฤดูเก็บเกี่ยว คือในช่วงเดือนแคแจตหรือเดือนห้า เรือมอันเรมีพัฒนาการของการละเล่นและการแสดงแบ่ง ออก ดังนี้ 1) รูปแบบของการละเล่นพื้นบ้านดั้งเดิม 2) การรับเอารูปแบบทางนาฏศิลป์เข้ามาผสมผสาน 3) รูปแบบของการจัดการแสดง องค์ประกอบของการละเล่นประกอบด้วยผู้เล่นไม่จำกัดจำนวนทั้งชายและ หญิง ชายนิยมนุ่งโสร่ง หญิงนุ่งผ้าถุงที่มีเชิง เรียก ซัมป็วตโฮล ท่ารำประกอบด้วย คือ ท่าเรือมตรจ ท่าปะกุม กรู ท่ากัจปกา ท่าจืงมูย ท่ามลบโดง ท่าจืงปีร์และท่ารำพลิกแพลงต่าง ๆ ดนตรีที่ใช้ในการละเล่นนิยมใช้วงกันตรึม ประกอบด้วย ปี่อ้อ ปี่สไล ตรัวและสก็วล เป็นหลัก โดย มีสากเป็นอุปกรณ์ในการละเล่น ทำนองเพลงมี 5 ทำนองเพลง คือ ทำนองจืงปร์ ทำนองเขมาแมร์ ทำ นองกัจปกา ซาปดาน ทำนองจืงมูย และทำนองมลบโดง บทบาทของเรือมอันเร 1) เพื่อผ่อนคลายความตึง เครียด 2) เพื่อเปิดโอกาสให้หนุ่มสาวได้พบปะสังสรรค์กัน 3) เพื่อความสามัคคีของคนในกลุ่มชน ทำนองเพลงประกอบการละเล่นเรือมอันเร 5 ทำนอง พบว่าทำนองเพลง มีโครงสร้างรูปแบบเป็น ทำนองยาว 1 ท่อน มีการบรรเลงซ้ำไปมาจนครบตามระยะเวลาของการรำที่กำหนดใน 1 ท่อนของทำนอง ผู้ บรรเลงจะบรรเลงซ้ำ ๆ ไปเรื่อย ๆ จนกว่ากระบวนการรำหรือเข้าสากครบตามกระบวนการ ลักษณะของ ดนตรีประกอบด้วยวลีต่าง ๆ ที่ต่อเนื่องกันไป ในการดำเนินทำนองพบการเกิดวลีที่เป็นการเคลื่อนผ่าน ทำนองมาถึงจุดพักของวลีเพลง ผู้รำนำกระสวนจังหวะไปช่วยในการกำหนดจังหวะการก้าวเท้า การสะดุ้งตัว และการกระทบก้นประกอบในการรำ
This research is an investigation of the musical context and specific characteristics of Ruam An Ree. An ethnomusicology approach was used as the research method. The purpose of the research was to analyze Ruam An Ree's music in Surin Province. The Ruam An Ree is an ancient traditional dance of the Duen Khae -jead (The 5th lunar calendar month) celebration. Ruam An Ree is a Khmer ethnic group's traditional style folk dance. The formal style has been applied from central Thailand's conventional standard dance The Ruam An Ree show consists of male and female actors. Male actors wear Jong kra Ben, female actors wear Pa-tung called sumpoudhoe. The dance step is Ruam Troj, Pakum Kru, Katpaka, Jeung Mui, Malob Dong, Jeung Pir and applied step. Music of Ruam An Ree is Kan-trum that consists of Pi-ore or Pi-salai, Trua, Sa-kaun and Sak.There are 5 melodies in Ruam An Ree; Jueng Pir, Khmauu-mae, Katpaka, Jeung Mui and Malob Dong. The role of Ruam An Ree in society is to entertain the Khmer ethnic group in Surin Province. It also gives teenagers a chance to have contact with each other and to develop unity within the society. The results of this study found that there are 5 melodic styles in the set of music that accompanist the dance. There are common characteristic in the melodic lines, which are: one-sectional form; each melody is played repeatedly; and the rhythm patterns of the drum are significantly related to the dancing style
This research is an investigation of the musical context and specific characteristics of Ruam An Ree. An ethnomusicology approach was used as the research method. The purpose of the research was to analyze Ruam An Ree's music in Surin Province. The Ruam An Ree is an ancient traditional dance of the Duen Khae -jead (The 5th lunar calendar month) celebration. Ruam An Ree is a Khmer ethnic group's traditional style folk dance. The formal style has been applied from central Thailand's conventional standard dance The Ruam An Ree show consists of male and female actors. Male actors wear Jong kra Ben, female actors wear Pa-tung called sumpoudhoe. The dance step is Ruam Troj, Pakum Kru, Katpaka, Jeung Mui, Malob Dong, Jeung Pir and applied step. Music of Ruam An Ree is Kan-trum that consists of Pi-ore or Pi-salai, Trua, Sa-kaun and Sak.There are 5 melodies in Ruam An Ree; Jueng Pir, Khmauu-mae, Katpaka, Jeung Mui and Malob Dong. The role of Ruam An Ree in society is to entertain the Khmer ethnic group in Surin Province. It also gives teenagers a chance to have contact with each other and to develop unity within the society. The results of this study found that there are 5 melodic styles in the set of music that accompanist the dance. There are common characteristic in the melodic lines, which are: one-sectional form; each melody is played repeatedly; and the rhythm patterns of the drum are significantly related to the dancing style
Description
ดนตรี (มหาวิทยาลัยมหิดล 2549)
Degree Name
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
วิทยาลัยดุริยางคศิลป์
Degree Discipline
ดนตรี
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล