The characteristics of the colored progressive matrices (CPM) and the advanced progressive matrices (APM) in Thai students age 6-18 years old : Northeast Region
Issued Date
2005
Copyright Date
2005
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ix, 85 leaves
ISBN
9740461492
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Clinical Psychology))--Mahidol University, 2005
Suggested Citation
Witchayar Moleechart The characteristics of the colored progressive matrices (CPM) and the advanced progressive matrices (APM) in Thai students age 6-18 years old : Northeast Region. Thesis (M.Sc. (Clinical Psychology))--Mahidol University, 2005. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/106089
Title
The characteristics of the colored progressive matrices (CPM) and the advanced progressive matrices (APM) in Thai students age 6-18 years old : Northeast Region
Alternative Title(s)
การศึกษาคุณภาพของแบบทดสอบเชาว์ปัญญาชุด colored progressive matrices (CPM) และ advanced progressive matrices (APM) ในกลุ่มนักเรียนไทย อายุ 6-18 ปี : ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
The objective of this research was to study the characteristics of Colored
Progressive Matrices (CPM) and Advanced Progressive Matrices (APM) in Thai
students aged 6-18 years old in the Northeast region. Students from Udon Thani Province were representative. The number of primary schools students aged 6-11 years was 473 with 725 secondary school students aged 12-18 years. Statistical analysis used was K-R 20, item analysis, factor analysis to test quality of the CPM and APM, base of statistics, t-test and F-test to compare means of the variables. The normative score was transformed to percentile and IQ tables. The results showed that the quality of CPM has a high reliability (K-R 20 .92), the range of an item discriminated from .23 to .69, mean of discrimination was .51, discriminating between high group and low group, the range of an item’s difficulty ranged from .30 to .99, mean of difficulty was .74, suitable for the measure of intelligence. Overall, the quality of the CPM results showed a standard error of mean .199, mean 27.01, median 29, mode 34, standard deviation 7.03, minimum 3, maximum 36, and skewness was -.94. For the APM, the quality had a high reliability (K-R 20 .88), the range of an item discriminates from .05 to .68, mean of discrimination was .43 discriminating between high group and low group, the range of an item’s difficulty ranged from .09 to .99, mean of difficulty was .41 being suitable for measure of intelligence. Overall, quality of the APM results showed a standard error of mean 2.45, mean 14.86, median 15, mode 17, standard deviation 7.07, minimum 1, maximum 33, and skewness was .17. Both the results of the CPM and APM had no gender difference, but differentiation in age and level of education was found to be at .05.The factor analysis of the CPM and APM found similar to Spearman’s Theory in terms of the g-factor. The results led to construction of a normative scores table of intelligence by the CPM and APM of students aged 6-18 years old in the Northeast region, distribution by age and level of education.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพของแบบทดสอบเชาวน์ปัญญาชุด Colored Progressive Matrices (CPM) และ Advanced Progressive Matrices (APM) ในกลุ่มนักเรียนไทย อายุ 6-18 ปี ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อุดรธานีเป็นจังหวัดที่เป็นตัวแทนกลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยนักเรียนจำนวนทั้งสิ้น 1,198 คน แบ่งเป็นนักเรียนอายุ 6-11 ปี จำนวน 473 คน และนักเรียนอายุ 12-18 ปี จำนวน 725 คน วิเคราะห์คุณภาพของแบบทดสอบ CPM และ APM โดยหาค่าความเที่ยงด้วยสูตร K-R 20, วิเคราะห์รายข้อ, วิเคราะห์องค์ประกอบ, ค่าสถิติพื้นฐาน และเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยตามตัวแปรด้วย t-test และ F-test และนำคะแนนมาคำนวณหาเปอร์เซ็นไทล์และระดับ 10 และสร้างเป็นตารางเกณฑ์ปกติ ผลการวิจัยพบว่าคุณภาพของแบบทดสอบ CPM มีค่าความเที่ยงอยู่ในระดับสูง K-R 20 มีค่า 92 ค่าอำนาจจำแนก รายข้ออยู่ในช่วง 23-69 ค่าอำนาจจำแนกเฉลี่ยทั้งฉบับ 51 ซึ่งสามารถจำแนกกลุ่มที่มีคะแนนสูงออกจากกลุ่มที่มีคะแนนต่ำได้ ค่าความยากรายข้ออยู่ในช่วง 30-99 ค่าเฉลี่ยความยาก 74 ซึ่งถือว่าใช้ได้ เหมาะที่จะเป็นแบบทดสอบทางเชาวน์ปัญญา ค่าความคลาดเคลื่อน .199 คะแนนเฉลี่ย 27.01 มัธยฐาน 29 ฐานนิยม 34 ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน 7.03 คะแนนต่ำสุด 3 คะแนนสูงสุด 36 ค่าความเบ้ -๑4 ในส่วนของคุณภาพของแบบทดสอบ APM มีค่าความเที่ยงอยู่ในระดับสูง K-R 20 มีค่า ss ค่าอำนาจจำแนกรายข้ออยู่ในช่วง 05-68 ค่าอำนาจจำแนกเฉลี่ยทั้งฉบับ 43 ซึ่งสามารถจำแนกกลุ่มที่มีคะแนนสูงออกจากกลุ่มที่มีคะแนนต่ำได้ ค่าความยากรายข้ออยู่ในช่วง .09 -. 99 ค่าเฉลี่ยความยาก 41 ซึ่งถือว่าใช้ได้ เหมาะที่จะเป็นแบบทดสอบทางเชาวน์ปัญญา ค่าความ คลาดเคลื่อน245 คะแนนเฉลี่ย 14.86 มัธยฐาน 15 ฐานนิยม 17 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 7.07 คะแนนต่ำสุด 1 คะแนนสูงสุด33 ค่าความเบ้ .17 และพบว่า เพศไม่มีผลต่อระดับเชาวน์ปัญญา แต่นักเรียนที่มีอายุและระดับชั้นเรียนต่างกันมีคะแนนเฉลี่ยจากแบบทดสอบต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 และเมื่อวิเคราะห์องค์ประกอบของแบบทดสอบ CPM และ APM พบว่า สนับสนุน g-factor ตามทฤษฎีของ Spearman จากผลการวิจัย ได้สร้างตารางเกณฑ์ปกติจากแบบทดสอบ CPM และ APM ในนักเรียนไทยอายุ 6-18 ปี ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำแนกตามอายุและระดับชั้นเรียน
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพของแบบทดสอบเชาวน์ปัญญาชุด Colored Progressive Matrices (CPM) และ Advanced Progressive Matrices (APM) ในกลุ่มนักเรียนไทย อายุ 6-18 ปี ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อุดรธานีเป็นจังหวัดที่เป็นตัวแทนกลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยนักเรียนจำนวนทั้งสิ้น 1,198 คน แบ่งเป็นนักเรียนอายุ 6-11 ปี จำนวน 473 คน และนักเรียนอายุ 12-18 ปี จำนวน 725 คน วิเคราะห์คุณภาพของแบบทดสอบ CPM และ APM โดยหาค่าความเที่ยงด้วยสูตร K-R 20, วิเคราะห์รายข้อ, วิเคราะห์องค์ประกอบ, ค่าสถิติพื้นฐาน และเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยตามตัวแปรด้วย t-test และ F-test และนำคะแนนมาคำนวณหาเปอร์เซ็นไทล์และระดับ 10 และสร้างเป็นตารางเกณฑ์ปกติ ผลการวิจัยพบว่าคุณภาพของแบบทดสอบ CPM มีค่าความเที่ยงอยู่ในระดับสูง K-R 20 มีค่า 92 ค่าอำนาจจำแนก รายข้ออยู่ในช่วง 23-69 ค่าอำนาจจำแนกเฉลี่ยทั้งฉบับ 51 ซึ่งสามารถจำแนกกลุ่มที่มีคะแนนสูงออกจากกลุ่มที่มีคะแนนต่ำได้ ค่าความยากรายข้ออยู่ในช่วง 30-99 ค่าเฉลี่ยความยาก 74 ซึ่งถือว่าใช้ได้ เหมาะที่จะเป็นแบบทดสอบทางเชาวน์ปัญญา ค่าความคลาดเคลื่อน .199 คะแนนเฉลี่ย 27.01 มัธยฐาน 29 ฐานนิยม 34 ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน 7.03 คะแนนต่ำสุด 3 คะแนนสูงสุด 36 ค่าความเบ้ -๑4 ในส่วนของคุณภาพของแบบทดสอบ APM มีค่าความเที่ยงอยู่ในระดับสูง K-R 20 มีค่า ss ค่าอำนาจจำแนกรายข้ออยู่ในช่วง 05-68 ค่าอำนาจจำแนกเฉลี่ยทั้งฉบับ 43 ซึ่งสามารถจำแนกกลุ่มที่มีคะแนนสูงออกจากกลุ่มที่มีคะแนนต่ำได้ ค่าความยากรายข้ออยู่ในช่วง .09 -. 99 ค่าเฉลี่ยความยาก 41 ซึ่งถือว่าใช้ได้ เหมาะที่จะเป็นแบบทดสอบทางเชาวน์ปัญญา ค่าความ คลาดเคลื่อน245 คะแนนเฉลี่ย 14.86 มัธยฐาน 15 ฐานนิยม 17 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 7.07 คะแนนต่ำสุด 1 คะแนนสูงสุด33 ค่าความเบ้ .17 และพบว่า เพศไม่มีผลต่อระดับเชาวน์ปัญญา แต่นักเรียนที่มีอายุและระดับชั้นเรียนต่างกันมีคะแนนเฉลี่ยจากแบบทดสอบต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 และเมื่อวิเคราะห์องค์ประกอบของแบบทดสอบ CPM และ APM พบว่า สนับสนุน g-factor ตามทฤษฎีของ Spearman จากผลการวิจัย ได้สร้างตารางเกณฑ์ปกติจากแบบทดสอบ CPM และ APM ในนักเรียนไทยอายุ 6-18 ปี ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำแนกตามอายุและระดับชั้นเรียน
Description
Clinical Psychology (Mahidol University 2005)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Medicine Siriraj Hospital
Degree Discipline
Clinical Psychology
Degree Grantor(s)
Mahidol University