Relationship among self-directed learning readiness, achievement motivation and academic achievement of nurse anesthetist students
Issued Date
2024
Copyright Date
2019
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ix, 81 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Health Science Education))--Mahidol University, 2019
Suggested Citation
Patcharee Phoson Relationship among self-directed learning readiness, achievement motivation and academic achievement of nurse anesthetist students. Thesis (M.Sc. (Health Science Education))--Mahidol University, 2019. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91689
Title
Relationship among self-directed learning readiness, achievement motivation and academic achievement of nurse anesthetist students
Alternative Title(s)
ความสัมพันธ์ระหว่างความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยการนำตนเอง แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาวิสัญญีพยาบาล
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
This research aims to study relationship among self-directed learning readiness and learning achievement motivation of nurse anesthetist students and study level of self-directed learning readiness of nurse anesthetist students at Siriraj Hospital. This research was conducted using a non-parameter correlation study. The sample group consisted of 35 students studying in nurse anesthetist program at the Faculty of Medicine, Siriraj Hospital from September 2017 to October 2018. Self - directed learning readiness data were collected using the self - directed learning readiness scale nursing education (SDLRS_NE) questionnaire and learning achievement motivation was evaluated by Motivated Strategies for learning questionnaire (MSLQ). After collecting data for three times, the scores obtained from the questionnaires were analyzed using descriptive statistics of Rho's Spearman in order to find the relationship between self-directed learning readiness and learning achievement motivation. All the 35 students who were studying in nurse anesthesia program at siriraj hospital replied and returned the questionnaires for 3 times. The results revealed that the third time had the highest level of selfdirected learning readiness. In addition, it was also found that self-directed learning readiness, learning achievement motivation, and learning achievement had no relationship with one another. The study discussed that the result of no relationship between variables might be due to improper duration for educational data collection which affects the research because students were probably stressful during preexamination. Therefore proper duration should be greatly considered when conducting data collection. There were several factors affecting self-directed learning of students, such as mental factors, personal factors and social factors. Further studies in the context of nurse anesthetist students and qualitative research were recommended.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยการนำตนเองแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาวิสัญญีพยาบาลและศึกษาระดับความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยการนำตนเองของนักศึกษาวิสัญญีพยาบาล ณ โรงพยาบาลศิริราชการศึกษานี้ใช้วิธีศึกษาสหสัมพันธ์แบบไม่มีพารามิเตอร์ประกอบด้วยผู้เข้าร่วมวิจัยจำนวน 35 คนที่เข้ารับการศึกษาหลักสูตรวิสัญญีพยาบาลคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลในช่วงเดือนกันยายน 2560 ถึงตุลาคม 2561 ซึ่งใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ การประเมินตนเองประกอบด้วยแบบวัดความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยการนำตนเองสำหรับการศึกษาทางการพยาบาล (SDLRS__NE) และแบบวัดแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ได้รับการประเมิน โดยแบบสอบถามการใช้กลยุทธ์การสร้างแรงจูงใจในการเรียน (MSLQ) เก็บข้อมูลทั้งสามครั้งแล้วจึงนำผลคะแนนของแบบสอบถาม มาวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา Rho's Spearman เพื่อหาความสัมพันธ์ของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกับความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยตนเองและแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ในการเรียน ผลการศึกษา นักศึกษาจำนวน 35 คน ตอบกลับแบบสอบถามการประเมินความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยการนำตนเองของนักศึกษาวิสัญญีพยาบาล ณ โรงพยาบาลศิริราชจำนวนทั้งหมด 3 ครั้ง ผลการวิจัยพบว่าครั้งที่ 3 มีคะแนนของระดับความพร้อมในการเรียนรู้สูงสุด และพบว่าความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยการนำตนเอง แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ในการเรียนและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนนั้นไม่มีความสัมพันธ์กัน การอภิปรายและสรุป: ผลลัพธ์เหล่านี้ชี้ให้เห็นว่าช่วงเวลาที่ไม่เหมาะสมสำหรับการรวบรวมข้อมูลการศึกษาอาจส่งผลกระทบต่อการวิจัยเพราะช่วงก่อนการสอบนักศึกษาอาจมีภาวะเครียดอยู่ ดังนั้นควรคำนึงถึงช่วงเวลาในการศึกษาและเก็บข้อมูลมากขึ้น มีหลายปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ด้วยการนำตนเองของนักศึกษา เช่นปัจจัยด้านจิตใจส่วนบุคคลและสังคมซึ่งจำเป็นต้องมีการศึกษาเพิ่มเติมในบริบทของนักศึกษาวิสัญญีพยาบาลและอาจต้องทำการศึกษาเชิงคุณภาพต่อไป
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยการนำตนเองแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาวิสัญญีพยาบาลและศึกษาระดับความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยการนำตนเองของนักศึกษาวิสัญญีพยาบาล ณ โรงพยาบาลศิริราชการศึกษานี้ใช้วิธีศึกษาสหสัมพันธ์แบบไม่มีพารามิเตอร์ประกอบด้วยผู้เข้าร่วมวิจัยจำนวน 35 คนที่เข้ารับการศึกษาหลักสูตรวิสัญญีพยาบาลคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลในช่วงเดือนกันยายน 2560 ถึงตุลาคม 2561 ซึ่งใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ การประเมินตนเองประกอบด้วยแบบวัดความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยการนำตนเองสำหรับการศึกษาทางการพยาบาล (SDLRS__NE) และแบบวัดแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ได้รับการประเมิน โดยแบบสอบถามการใช้กลยุทธ์การสร้างแรงจูงใจในการเรียน (MSLQ) เก็บข้อมูลทั้งสามครั้งแล้วจึงนำผลคะแนนของแบบสอบถาม มาวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา Rho's Spearman เพื่อหาความสัมพันธ์ของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกับความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยตนเองและแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ในการเรียน ผลการศึกษา นักศึกษาจำนวน 35 คน ตอบกลับแบบสอบถามการประเมินความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยการนำตนเองของนักศึกษาวิสัญญีพยาบาล ณ โรงพยาบาลศิริราชจำนวนทั้งหมด 3 ครั้ง ผลการวิจัยพบว่าครั้งที่ 3 มีคะแนนของระดับความพร้อมในการเรียนรู้สูงสุด และพบว่าความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยการนำตนเอง แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ในการเรียนและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนนั้นไม่มีความสัมพันธ์กัน การอภิปรายและสรุป: ผลลัพธ์เหล่านี้ชี้ให้เห็นว่าช่วงเวลาที่ไม่เหมาะสมสำหรับการรวบรวมข้อมูลการศึกษาอาจส่งผลกระทบต่อการวิจัยเพราะช่วงก่อนการสอบนักศึกษาอาจมีภาวะเครียดอยู่ ดังนั้นควรคำนึงถึงช่วงเวลาในการศึกษาและเก็บข้อมูลมากขึ้น มีหลายปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ด้วยการนำตนเองของนักศึกษา เช่นปัจจัยด้านจิตใจส่วนบุคคลและสังคมซึ่งจำเป็นต้องมีการศึกษาเพิ่มเติมในบริบทของนักศึกษาวิสัญญีพยาบาลและอาจต้องทำการศึกษาเชิงคุณภาพต่อไป
Description
Health Science Education (Mahidol University 2019)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Medicine Siriraj Hospital
Degree Discipline
Health Science Education
Degree Grantor(s)
Mahidol University