ผลของโปรแกรมส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหารและกิจกรรมทางกายในนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร

dc.contributor.advisorปัญญรัตน์ ลาภวงศ์วัฒนา
dc.contributor.advisorภรณี วัฒนสมบูรณ์
dc.contributor.authorวิภารัตน์ แก้วเทศ
dc.date.accessioned2024-01-16T03:51:48Z
dc.date.available2024-01-16T03:51:48Z
dc.date.copyright2556
dc.date.created2567
dc.date.issued2556
dc.descriptionการพยาบาลสาธารณสุข (มหาวิทยาลัยมหิดล 2556)
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหารและ กิจกรรมทางกายในนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนที่กำลังศึกษาในชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4-5 อายุ 9-11 ปี จากโรงเรียนกลุ่มทดลอง 30 คน และโรงเรียนกลุ่มเปรียบเทียบ 31 คน ระยะเวลาของการทำ กิจกรรม 3 สัปดาห์ และติดตามผล 4 สัปดาห์ เก็บข้อมูลด้วยการตอบแบบสอบถามด้วยตนเอง วิเคราะห์ข้อมูลด้วย การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยแบบสองกลุ่มและการวัด ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำ ผลการศึกษาพบว่า ภายหลังการทดลองทันที กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยของความสามารถของ ตนเอง ความคาดหวังในผลลัพธ์และพฤติกรรมการบริโภคอาหารและกิจกรรมทางกาย โดยรวมในระดับดีคิดเป็น ร้อยละ 70.0, 80.0 , 30.0 ตามลำดับ และในระยะติดตามผลมีคะแนนเฉลี่ยโดยรวมคิดเป็นร้อยละ 80.0, 90.0, 16.7 ตามลำดับ โดยกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความสามารถของตนเอง ความคาดหวังในผลลัพธ์และพฤติกรรมการ บริโภคอาหารและกิจกรรมทางกาย ดีกว่าก่อนการทดลองและดีกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05) แต่ในส่วนพฤติกรรมการบริโภคอาหารยังคงอยู่ในระดับต่ำร้อยละ16.6 และพฤติกรรมการกระทำ กิจกรรมทางกายอยู่ในระดับต่ำร้อยละ 33.3 การประยุกต์ทฤษฏีปัญญาสังคมเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหารและกิจกรรมทางกาย สามารถทำให้เกิดพฤติกรรมการป้องกันโรคอ้วนได้ แต่ยังมีข้อเสนอแนะว่าการนำโปรแกรมไปใช้ควรมีการ ประสานงานเชื่อมโยงกันระหว่างพยาบาลสาธารณสุข โรงเรียนและผู้ปกครอง เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้าน พฤติกรรมอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
dc.description.abstractThe purpose of this study was to examine the effects of a dietary and physical activity behaviors promotion program for overweight students. The studied population were overweight nine - to 11 - years old in the 4th and 5th grades from the experimental school (30 students) and comparison school (31 students). The intervention took three weeks, and the follow up was at four weeks after the program. Data were collected by using self-administered questionnaires. The statistical methods used to analyze the data were percentage, mean, standard deviation, independent t-test, and repeated measures ANOVA. The results showed that immediately after the intervention, the experimental group had mean scores of self-efficacy, outcome expectation, and dietary and physical activity behaviors at a high level (70.0%, 80.0%, and 30.0%, respectively) and at the follow up period, the mean scores were also at a high level (80.0%, 90.0%, and 16.7%, respectively). The experimental group had significantly higher mean scores of self efficacy, outcome expectation, and dietary and physical activity behaviors immediately after the intervention than before the intervention and higher than the comparison group (p < .05). However, 16.6% of the mean score of dietary consumption behaviors was at a low level, and 33.3% of the mean score of physical activity behaviors was also at a low level. This program, applied Social Cognitive Theory, successfully promotes dietary consumption and physical activity behaviors to prevent childhood obesity. Implementation of this program should be made in coordination with public health nurses, school teachers and parents in order to promote continuity and sustainability of children behaviors.
dc.format.extentก-ฎ, 171 แผ่น
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationวิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การพยาบาลสาธารณสุข))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2556
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92965
dc.language.isotha
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดล. หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderมหาวิทยาลัยมหิดล
dc.subjectเด็กน้ำหนักเกิน -- ไทย -- กรุงเทพฯ
dc.subjectทฤษฎีปัญญาสังคม
dc.titleผลของโปรแกรมส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหารและกิจกรรมทางกายในนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร
dc.title.alternativeEffects of dietary and physical activity behaviors promotion program for overweight students in Bangkok Metropolitan Schools
dc.typeMaster Thesis
dcterms.accessRightsopen access
mods.location.urlhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2557/cd493/5336158.pdf
thesis.degree.departmentคณะสาธารณสุขศาสตร์
thesis.degree.disciplineการพยาบาลสาธารณสุข
thesis.degree.grantorมหาวิทยาลัยมหิดล
thesis.degree.levelปริญญาโท
thesis.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

Files