The assessment of chemical emission from decoration firing kiln and engineering control in a Benjarong porcelain manufactured community enterprise
Issued Date
2024
Copyright Date
2017
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xi, 74 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Occupational Health and Safety))--Mahidol University, 2017
Suggested Citation
Pakinee Rutchapan The assessment of chemical emission from decoration firing kiln and engineering control in a Benjarong porcelain manufactured community enterprise. Thesis (M.Sc. (Occupational Health and Safety))--Mahidol University, 2017. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92460
Title
The assessment of chemical emission from decoration firing kiln and engineering control in a Benjarong porcelain manufactured community enterprise
Alternative Title(s)
การประเมินการปล่อยสารเคมีจากเตาเผาเครื่องเบญจรงค์และการควบคุมทางวิศวกรรมในกลุ่มวิสาหกิจชุมชนหัตถกรรมเครื่องเบญจรงค์
Author(s)
Abstract
The preliminary survey of Benjarong production founded that the emission of decoration firing had foul smell. Workers showed symptom of physical distress such as sore throat and dizziness. The decorating pattern uses various colors, including the metal oxide, glue and gold paint. In the firing process there is chemical emission from kiln which had not been studied before. From the literature review, the potential pollutants are hydrogen cyanide, formaldehydes, metal fumes, and flue gases. This study assessed the type and concentration of chemicals emitted from Benjarong decoration firing kiln. One voluntary Benjarong enterprise which has regular decoration firing had been selected as a study site. The air samples were collected and analyzed for hydrogen cyanide, formaldehyde, heavy metal fume (Pb, Ni, Cd), and flue gases (CO, NOx, SO2) at inside, beside and behind the kiln storage room, respectively. The result showed that all chemicals had concentrations lower than Occupational Exposure Limit (OEL) of U.S.OSHA standard. However, the maximum concentration of lead which was 0.044 mg/m3 quite closed to the OEL value 0.05 mg/m3.This showed that the most health risk in Benjarong decoration firing process was lead exposure. There were no association between weight of Benjarong wares and all chemical concentration. Due to the main chemical emissions from decorative firing kiln were fumes and gases, wet scrubber system was selected to remove the kiln emissions. The equipment was installed at behind the kiln storage room. Air samples were collected at inlet and outlet duct of wet scrubber and calculated the chemical removal efficiency. The result showed that the maximum chemical removal efficiency was formaldehyde which was 75 percent whereas Hydrogen cyanide, flue gas, heavy metal fume had low removal efficiency.
การตกแต่งลวดลายของเครื่องเบญจรงค์จะใช้สีต่างๆ ที่มีส่วนประกอบของออกไซด์ของโลหะ กาวและน้ำทองและจากนั้นจะนำไปเผา จากการสำรวจเบื้องต้น พบว่าในขั้นตอนการเผาเพื่อทำ การตกแต่งนี้จะก่อให้กลิ่นเหม็นออกมาจากเตา ทำให้เกิดการรบกวนต่อพนักงาน จากสัมภาษณ์พบการแสดงอาการทางสุขภาพ เช่น เจ็บคอ และวิงเวียนศีรษะ ปัจจุบันยังไม่มีงานวิจัยเกี่ยวกับชนิดและความเข้มข้นของสารมลพิษจากการเผานี้ จากการทบทวนวรรณกรรมของงานเซรามิกที่คล้ายคลึงกันพบว่า สารมลพิษคือ สารไฮโดรเจนไซยาไนด์, ฟอมัลดีไฮด์, ฟูมโลหะ และแก๊สเผาไหม้ จึงนาสู่วัตถุประสงค์ของงานวิจัยคือ ศึกษาชนิดและความเข้มข้นของสารมลพิษจากเตาเผาเครื่องเบญจรงค์ในกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเครื่องเบญจรงค์ 1 กลุ่ม โดยเลือกจากความสมัครใจและมีการเผาเครื่องเบญจรงค์เป็นประจำ และเก็บตัวอย่างอากาศเพื่อวิเคราะห์หาสารไฮโดรเจนไซยาไนด์ ฟอมัลดีไฮด์ ฟูมโลหะ (ตะกั่ว, นิกเกิล, แคดเมียม) และแก๊สเผาไหม้ (คาร์บอนมอนอกไซด์, ไนโตรเจนออกไซด์, ซัลเฟอร์ไดออกไซด์) ในบริเวณ 3 จุดคือ บริเวณในห้อง ข้างห้อง และหลังห้องเก็บเตาเผา ผลของงานวิจัย พบว่า ความเข้มข้นทั้งหมดเมื่อเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานการรับสัมผัสของ OHSA ไม่มีสารใดเกินค่ามาตรฐาน อย่างไรก็ตามพบว่าความเข้มข้นสูงสุดของตะกั่วมีค่าเท่ากับ 0.044 มก/ลบ3 ซึ่งใกล้เคียงกับค่ามาตรฐาน (0.05 มก/ลบ3 ) ดังนั้นพนักงานในกลุ่มเครื่องเบญจรงค์จึงมีความเสี่ยงด้านสุขภาพในการสัมผัสสารตะกั่ว นอกจากนี้ยังไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างน้ำหนักของเครื่องเบญจรงค์ในเตาเผากับความเข้มข้นของสารมลพิษที่ออกมา ในงานวิจัยนี้ออกแบบระบบบำบัดอากาศชนิด wet scrubber ในการกำจัดมลพิษจากเตาเผาเนื่องจากมลพิษอยู่ในรูปแบบแก๊สและอนุภาค จากการเก็บตัวอย่างอากาศที่ท่อทางเข้า และออกจำนวน 3 ครั้งและนำมาคำนวณหาประสิทธิภาพ พบว่ามีประสิทธิภาพในการกำจัดสารฟอร์มัลดีไฮด์ได้ดีสูงสุดถึง 75 เปอร์เซ็นต์ ในขณะที่ประสิทธิภาพในการจัดไฮโดรเจนไซยาไนด์ แก๊สเผาไหม้และฟูมโลหะมีค่าต่ำ
การตกแต่งลวดลายของเครื่องเบญจรงค์จะใช้สีต่างๆ ที่มีส่วนประกอบของออกไซด์ของโลหะ กาวและน้ำทองและจากนั้นจะนำไปเผา จากการสำรวจเบื้องต้น พบว่าในขั้นตอนการเผาเพื่อทำ การตกแต่งนี้จะก่อให้กลิ่นเหม็นออกมาจากเตา ทำให้เกิดการรบกวนต่อพนักงาน จากสัมภาษณ์พบการแสดงอาการทางสุขภาพ เช่น เจ็บคอ และวิงเวียนศีรษะ ปัจจุบันยังไม่มีงานวิจัยเกี่ยวกับชนิดและความเข้มข้นของสารมลพิษจากการเผานี้ จากการทบทวนวรรณกรรมของงานเซรามิกที่คล้ายคลึงกันพบว่า สารมลพิษคือ สารไฮโดรเจนไซยาไนด์, ฟอมัลดีไฮด์, ฟูมโลหะ และแก๊สเผาไหม้ จึงนาสู่วัตถุประสงค์ของงานวิจัยคือ ศึกษาชนิดและความเข้มข้นของสารมลพิษจากเตาเผาเครื่องเบญจรงค์ในกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเครื่องเบญจรงค์ 1 กลุ่ม โดยเลือกจากความสมัครใจและมีการเผาเครื่องเบญจรงค์เป็นประจำ และเก็บตัวอย่างอากาศเพื่อวิเคราะห์หาสารไฮโดรเจนไซยาไนด์ ฟอมัลดีไฮด์ ฟูมโลหะ (ตะกั่ว, นิกเกิล, แคดเมียม) และแก๊สเผาไหม้ (คาร์บอนมอนอกไซด์, ไนโตรเจนออกไซด์, ซัลเฟอร์ไดออกไซด์) ในบริเวณ 3 จุดคือ บริเวณในห้อง ข้างห้อง และหลังห้องเก็บเตาเผา ผลของงานวิจัย พบว่า ความเข้มข้นทั้งหมดเมื่อเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานการรับสัมผัสของ OHSA ไม่มีสารใดเกินค่ามาตรฐาน อย่างไรก็ตามพบว่าความเข้มข้นสูงสุดของตะกั่วมีค่าเท่ากับ 0.044 มก/ลบ3 ซึ่งใกล้เคียงกับค่ามาตรฐาน (0.05 มก/ลบ3 ) ดังนั้นพนักงานในกลุ่มเครื่องเบญจรงค์จึงมีความเสี่ยงด้านสุขภาพในการสัมผัสสารตะกั่ว นอกจากนี้ยังไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างน้ำหนักของเครื่องเบญจรงค์ในเตาเผากับความเข้มข้นของสารมลพิษที่ออกมา ในงานวิจัยนี้ออกแบบระบบบำบัดอากาศชนิด wet scrubber ในการกำจัดมลพิษจากเตาเผาเนื่องจากมลพิษอยู่ในรูปแบบแก๊สและอนุภาค จากการเก็บตัวอย่างอากาศที่ท่อทางเข้า และออกจำนวน 3 ครั้งและนำมาคำนวณหาประสิทธิภาพ พบว่ามีประสิทธิภาพในการกำจัดสารฟอร์มัลดีไฮด์ได้ดีสูงสุดถึง 75 เปอร์เซ็นต์ ในขณะที่ประสิทธิภาพในการจัดไฮโดรเจนไซยาไนด์ แก๊สเผาไหม้และฟูมโลหะมีค่าต่ำ
Description
Occupational Health and Safety (Mahidol University 2017)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Public Health
Degree Discipline
Occupational Health and Safety
Degree Grantor(s)
Mahidol University