The influence of television drama on ship naming : case study of Rusamilae harbor at Mueang district, Pattani province
dc.contributor.advisor | Duangporn Kamnoonwatana | |
dc.contributor.advisor | Sukhuma-Vadee Khamhiran | |
dc.contributor.advisor | Apinya Buasuang | |
dc.contributor.author | Supachok Chamnanvat | |
dc.date.accessioned | 2025-04-01T03:16:12Z | |
dc.date.available | 2025-04-01T03:16:12Z | |
dc.date.copyright | 2002 | |
dc.date.created | 2025 | |
dc.date.issued | 2002 | |
dc.description | Language and Culture for Communication and Development (Mahidol University 2002) | |
dc.description.abstract | This qualitative research aims to study the influences of television dramas upon ship naming at Rusamilae Pier Pattani Province. The main purposes of this research is to study the ship naming process, to study what type of drama had an influence on fishermen in this village and to study beliefs in ship names. The informants were divided into two groups -a primary unit which consisted of thirty fishermen who named their ships after television dramas and a secondary unit which consisted of ten fishermen who did not name their ship after television drama, ten fishery experts, and fifteen opinion leaders. The results showed that the fishermen who named their ships after television dramas always follow their favorite drama. After they watched the drama, they discussed about the story with their friends. Television dramas from channel three and channel seven were very popular. Most informants liked to watch dramas about love, fighting and nature. The fishermen prepared themselves before watching television dramas because they wanted to concentrate on the drama and did not want to be interrupted. They selected to remember some parts of their favorite drama and applied the morals which they got from the drama to their everyday life. Moreover, it was found that television drama had a significant influence among the fishermen - they named their ships after their favorite drama. On the contrary, the fishermen who did not name their ships after television dramas did not watch television dramas. They liked to watch news programmes and sports news. Some of them did not have their own television set. From the study, it has been found that most fishermen thought that a ship name was important because it made others remember their ship. Some of them believed that a good name brought good luck for their ship and their career. Only a few fishermen thought that a ship name was not important, so they did not name their ship. This group of fishermen said that the ship owner's name could be used as a ship name, and they did not want to spend a lot of money in painting a name on their ship. | |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงคุณภาพนี้มุ่งศึกษาอิทธิพลของละครโทรทัศน์ที่มีต่อการตั้งชื่อเรือชายฝั่ง ทะเลของชาวประมงในท่าเรือรูละมิแล จังหวัดปัตตานี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการนำชื่อละครโทรทัศน์มาตั้งเป็นชื่อเรือ ศึกษาประเภทของละครโทรทัศน์ที่มีอิทธิพลต่อการตั้งชื่อเรือของคนในชุมชน และ ศึกษาความเชื่อของชื่อเรือที่มีต่อการประกอบอาชีพของชาวประมง ผู้ให้ข้อมูลแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มหลักได้แก่ชาวประมงที่ตั้งชื่อเรือด้วยชื่อละครโทรทัศน์ กลุ่มรอง ได้แก่ กลุ่มชาวประมงที่ไม่ตั้งชื่อเรือด้วยชื่อละครโทรทัศน์ กลุ่มผู้มีความรู้ความชำนาญเกี่ยวกับการประมงและกลุ่มผู้นำชุมชน การศึกษาในกลุ่มของชาวประมงที่ตั้งชื่อเรือด้วยชื่อละครโทรทัศน์ พบว่าชาวประมงกลุ่มนี้มีการติดตามชมละครโทรทัศน์อย่างต่อเนื่องจนเกิดความชื่นชอบ หลังจากรับชมละครโทรทัศน์แล้ว ชาวประมงกลุ่มนี้จะมีการวิจารณ์ วิเคราะห์ ตีความละครโทรทัศน์ กันในกลุ่ม ละครที่ได้รับความนิยมในชุมชนนี้คือ ละครของสถานีโทรทัศน์ช่อง 3 และช่อง 7 ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับ ธรรมชาติ ความรักและการต่อสู้ มีการเตรียมตัวให้พร้อมในการรับชมละครโทรทัศน์ก่อนละครออกอากาศเพื่อให้การรับชมเป็นไปอย่างต่อเนื่อง มีการเลือกจดจำเนื้อหาของละครและนำใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน เช่น การนำข้อคิดที่ได้จากละครมาใช้ และจากการศึกษาพบว่าละครโทรทัศน์มีอิทธิพลโดยตรงต่อการนำ ชื่อละครที่ตนเองชื่นชอบมาตั้งเป็นชื่อเรือ ในกลุ่มของชาวประมงที่ตั้งชื่อเรือโดยใช้ชื่ออื่นๆนั้น ไม่นิยมติดตามชมละครโทรทัศน์เลย แต่นิยมติดตามรายการข่าวภาคค่ำและข่าวกีฬา บางคนก็ไม่มีเครื่องรับโทรทัศน์ในครอบครัว จากการศึกษา ยังพบอีกว่าชาวประมงส่วนใหญ่ให้ความสำคัญต่อการตั้งชื่อเรือ โดยเห็นว่าชื่อเรือมีความสำคัญเนื่องจากจะทำให้ผู้อื่นสามารถจดจำเรือลำนั้น ๆ ได้ ชาวประมงมีความเชื่อว่าชื่อเรือที่มีความหมายดีจะมีส่วนช่วยในการประกอบอาชีพทำให้มีฐานะดีขึ้น มีเพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่เห็นว่าชื่อเรือนั้นไม่สำคัญจึงไม่ได้ตั้งชื่อ โดยชาวประมงกลุ่มนี้ให้เหตุผลว่า สามารถใช้ชื่อเจ้าของเรือเรียกชื่อเรือแทนได้ และไม่ต้องการสิ้นเปลืองเงินทองในการเขียนชื่อเรือลงบนตัวเรือ | |
dc.format.extent | xi, 135 leaves : ill. | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier.citation | Thesis (M.A. (Language and Culture for Communication and Development))--Mahidol University, 2002 | |
dc.identifier.isbn | 9740418961 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/107339 | |
dc.language.iso | eng | |
dc.publisher | Mahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center | |
dc.rights | ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า | |
dc.rights.holder | Mahidol University | |
dc.subject | Ship names -- Thailand -- Pattani | |
dc.subject | Television plays | |
dc.title | The influence of television drama on ship naming : case study of Rusamilae harbor at Mueang district, Pattani province | |
dc.title.alternative | การศึกษาอิทธิพลของละครโทรทัศน์ต่อการตั้งชื่อเรือประมงชายฝั่งทะเล : กรณีศึกษา ท่าเรือรูสะมิแล ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี | |
dc.type | Master Thesis | |
dcterms.accessRights | open access | |
mods.location.url | http://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/scan/4036239.pdf | |
thesis.degree.department | Institute of Language and Culture for Rural Development | |
thesis.degree.discipline | Language and Culture for Communication and Development | |
thesis.degree.grantor | Mahidol University | |
thesis.degree.level | Master's degree | |
thesis.degree.name | Master of Arts |