Diversity of soil arthropods in different forest types at Khao Nor Chuchi, Krabi province, Thailand
Issued Date
2001
Copyright Date
2001
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xii, 101 leaves : ill.
ISBN
9746651706
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Environmental Biology))--Mahidol University, 2001
Suggested Citation
Wigunda Rattanapun Diversity of soil arthropods in different forest types at Khao Nor Chuchi, Krabi province, Thailand. Thesis (M.Sc. (Environmental Biology))--Mahidol University, 2001. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/94721
Title
Diversity of soil arthropods in different forest types at Khao Nor Chuchi, Krabi province, Thailand
Alternative Title(s)
ความหลากหลายของสัตว์ขาปล้องตามพื้นดินในป่าต่างชนิดที่เขานอจู้จี้, จังหวัดกระบี่, ประเทศไทย
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
A field study of soil arthropods was carried out in three different habitats-primary forest, secondary forest and rubber plantation at Khao Nor Chuchi, Krabi Province, Thailand. The purposes of the study are to trace the diversity in terms of number of individuals and number of species of soil arthropods found in different forest types and to compare the abundance and functional groups of soil arthropods among three seasons. Three surveys were conducted : November-December 1998, the winter season, March-April 1999, the summer season and July-August 1999, the rainy season. Data from collected specimens and identified groups of soil arthropods show that 169 species of 64 families of 18 orders of soil arthropods were found in the primary forest, 171 species of 68 families of 20 orders in secondary forest and 158 species of 69 families of 20 orders in rubber plantations . The herbivorous group was the dominant trophic type of soil arthropods found in primary forest whereas the orders Hymenoptera, Coleoptera and Orthoptera were the dominant groups. In the secondary forest, soil arthropods of the detritivore trophic type dominated with insects in the orders Hymenoptera and Isoptera as the dominant groups. Soil arthropods playing roles as primary carnivores were the dominant trophic type found in the rubber plantation, having Hymenoptera and Coleoptera as the dominant orders of insects. The abundance of soil arthropods in primary forest and secondary forest were highest in summer, winter and rainy seasons, respectively, whereas in rubber plantations it was highest in summer, rainy season and winter, respectively.The diversed groups of soil arthropods in primary forest were highest in summer, winter and rainy season, respectively. However, in secondary forest and rubber plantations, they were highest in summer, rainy season and winter, respectively. It was found that 60 families of soil arthropods were found common in all three areas, 30 of these were found to have the highest numbers of individuals in the primary forest, 15 families in the secondary forest and 10 families in the rubber plantations. Two families were found to have the highest numbers of individuals both in the primary forest and the secondary forest, 1 family both in the primary forest and the rubber plantations and 2 families both in the secondary forest and the rubber plantations. The primary forest had the diversity index (H) of 4.82, the secondary forest 4.43 and the rubber plantations 4.59.
การศึกษาความหลากหลายของสัตว์ขาปล้องตามพื้นดินในสิ่งแวดล้อมที่ต่างกัน คือ ป่าปฐมภูมิ ป่าทุติยภูมิ และสวนยางพารา ในบริเวณพื้นที่ป่าเขานอจู้จี้ จังหวัดกระบี่ มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจและเปรียบเทียบจำนวนกลุ่มและจำนวนตัวของสัตว์ขาปล้องที่พบได้ ในป่าแต่ละชนิด รวมทั้งเปรียบเทียบจำนวนกลุ่มและจำนวนตัวของสัตว์ขาปล้องใน 3 ฤดู ทำ การสำรวจ 3 ครั้ง คือ ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน-เดือนธันวาคม 2541 ซึ่งเป็นฤดูหนาว, เดือนมีนาคม-เดือนเมษายน 2542 (ฤดูร้อน) และเดือนกรกฎาคม-เดือนสิงหาคม 2542 (ฤดูฝน) จากการเก็บตัวอย่างในป่าปฐมภูมิ ป่าทุติยภูมิ และสวนยางพารา พบสัตว์ขาปล้องทั้งหมด 169 ชนิด จาก 64 วงศ์ จาก 18 อันดับ, 171 ชนิดจาก 68 วงศ์ จาก 20 อันดับ และ 158 ชนิด จาก 69 วงศ์จาก 20 อันดับ ตามลำดับ ในป่าปฐมภูมิ พบกลุ่มสัตว์ขาปล้องกินพืชมากที่สุด โดยมีแมลงในอันดับ Hymenoptera, Coleoptera และ Orthoptera เป็นอันดับสำคัญ ป่า ทุติยภูมิพบกลุ่มสัตว์กินซากมากที่สุด โดยมีแมลงในอันดับ Hymenoptera และ Isoptera เป็น อันดับสำคัญ ในขณะที่สวนยางพาราพบกลุ่มสัตว์ขาปล้องที่กินสัตว์มากที่สุด โดยมีแมลงในอันดับ Hymenoptera และ Coleoptera เป็นอันดับสำคัญ ป่าปฐมภูมิละป่าทุติยภูมิมีจำนวนตัวสัตว์ขาปล้องสูงที่สุดในช่วงฤดูร้อน ฤดูหนาว และ ฤดูฝน ตามลำดับ แต่สวนยางพารามีจำนวนตัวสัตว์ขาปล้องสูงที่สุดในช่วงฤดูร้อน, ฤดูฝน และ ฤดูหนาว ตามลำดับ ป่าปฐมภูมิมีจำนวนอันดับและวงศ์ของสัตว์ขาปล้องสูงที่สุดในฤดูร้อน, ฤดูหนาว และฤดูฝน ตามลำดับ ส่วนป่าทุติยภูมิและสวนยางพารามีจำนวนอันดับและวงศ์ของสัตว์ขาปล้อง สูงที่สุดในฤดูร้อน, ฤดูฝน และฤดูหนาว ตามลำดับ สัตว์ขาปล้องที่พบได้ในทั้ง 3 พื้นที่ที่มี ทั้งหมด 60 วงศ์ ในจำนวน 60 วงศ์นี้ มี 30 วงศ์ ที่พบว่ามีจำนวนตัวสูงสุดในป่าปฐมภูมิ มี 15 วงศ์ ที่พบจำนวนตัวสูงสุดในป่าทุติยภูมิ, 10 วงศ์ ที่พบจำนวนตัวสูงสุดในสวนยางพารา และ 2 วงศ์ ที่พบจำนวนตัวสูงสุดทั้งในป่าปฐมภูมิและป่าทุติยภูมิ, 1 วงศ์ ที่พบจำนวนตัวสูงสุด ทั้งในป่าปฐมภูมิและสวนยางพารา และ 2 วงศ์ ที่พบจำนวนตัวสูงสุดทั้งในป่าทุติยภูมิและสวน ยางพารา ป่าปฐมภูมิ ป่าทุติยภูมิและสวนยางพารามีดัชนีความหลากหลาย (H) ของสัตว์ขาปล้อง เป็น 4.82, 4.43 และ 4.59 ตามลำดับ
การศึกษาความหลากหลายของสัตว์ขาปล้องตามพื้นดินในสิ่งแวดล้อมที่ต่างกัน คือ ป่าปฐมภูมิ ป่าทุติยภูมิ และสวนยางพารา ในบริเวณพื้นที่ป่าเขานอจู้จี้ จังหวัดกระบี่ มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจและเปรียบเทียบจำนวนกลุ่มและจำนวนตัวของสัตว์ขาปล้องที่พบได้ ในป่าแต่ละชนิด รวมทั้งเปรียบเทียบจำนวนกลุ่มและจำนวนตัวของสัตว์ขาปล้องใน 3 ฤดู ทำ การสำรวจ 3 ครั้ง คือ ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน-เดือนธันวาคม 2541 ซึ่งเป็นฤดูหนาว, เดือนมีนาคม-เดือนเมษายน 2542 (ฤดูร้อน) และเดือนกรกฎาคม-เดือนสิงหาคม 2542 (ฤดูฝน) จากการเก็บตัวอย่างในป่าปฐมภูมิ ป่าทุติยภูมิ และสวนยางพารา พบสัตว์ขาปล้องทั้งหมด 169 ชนิด จาก 64 วงศ์ จาก 18 อันดับ, 171 ชนิดจาก 68 วงศ์ จาก 20 อันดับ และ 158 ชนิด จาก 69 วงศ์จาก 20 อันดับ ตามลำดับ ในป่าปฐมภูมิ พบกลุ่มสัตว์ขาปล้องกินพืชมากที่สุด โดยมีแมลงในอันดับ Hymenoptera, Coleoptera และ Orthoptera เป็นอันดับสำคัญ ป่า ทุติยภูมิพบกลุ่มสัตว์กินซากมากที่สุด โดยมีแมลงในอันดับ Hymenoptera และ Isoptera เป็น อันดับสำคัญ ในขณะที่สวนยางพาราพบกลุ่มสัตว์ขาปล้องที่กินสัตว์มากที่สุด โดยมีแมลงในอันดับ Hymenoptera และ Coleoptera เป็นอันดับสำคัญ ป่าปฐมภูมิละป่าทุติยภูมิมีจำนวนตัวสัตว์ขาปล้องสูงที่สุดในช่วงฤดูร้อน ฤดูหนาว และ ฤดูฝน ตามลำดับ แต่สวนยางพารามีจำนวนตัวสัตว์ขาปล้องสูงที่สุดในช่วงฤดูร้อน, ฤดูฝน และ ฤดูหนาว ตามลำดับ ป่าปฐมภูมิมีจำนวนอันดับและวงศ์ของสัตว์ขาปล้องสูงที่สุดในฤดูร้อน, ฤดูหนาว และฤดูฝน ตามลำดับ ส่วนป่าทุติยภูมิและสวนยางพารามีจำนวนอันดับและวงศ์ของสัตว์ขาปล้อง สูงที่สุดในฤดูร้อน, ฤดูฝน และฤดูหนาว ตามลำดับ สัตว์ขาปล้องที่พบได้ในทั้ง 3 พื้นที่ที่มี ทั้งหมด 60 วงศ์ ในจำนวน 60 วงศ์นี้ มี 30 วงศ์ ที่พบว่ามีจำนวนตัวสูงสุดในป่าปฐมภูมิ มี 15 วงศ์ ที่พบจำนวนตัวสูงสุดในป่าทุติยภูมิ, 10 วงศ์ ที่พบจำนวนตัวสูงสุดในสวนยางพารา และ 2 วงศ์ ที่พบจำนวนตัวสูงสุดทั้งในป่าปฐมภูมิและป่าทุติยภูมิ, 1 วงศ์ ที่พบจำนวนตัวสูงสุด ทั้งในป่าปฐมภูมิและสวนยางพารา และ 2 วงศ์ ที่พบจำนวนตัวสูงสุดทั้งในป่าทุติยภูมิและสวน ยางพารา ป่าปฐมภูมิ ป่าทุติยภูมิและสวนยางพารามีดัชนีความหลากหลาย (H) ของสัตว์ขาปล้อง เป็น 4.82, 4.43 และ 4.59 ตามลำดับ
Description
Environmental Biology (Mahidol University 2001)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Science
Degree Discipline
Environmental Biology
Degree Grantor(s)
Mahidol University