Effects of parent-child interactive music therapy on sentence verbalization in a child with autism spectrum disorder

dc.contributor.advisorNatee Chiengchana
dc.contributor.advisorNi-on Tayrattanachai
dc.contributor.authorChanyanit Charoenphol
dc.date.accessioned2024-01-10T01:27:39Z
dc.date.available2024-01-10T01:27:39Z
dc.date.copyright2018
dc.date.created2018
dc.date.issued2024
dc.descriptionMusic (Mahidol University 2018)
dc.description.abstractThis thesis aimed to examine effects of parent-child interactive music therapy on sentence verbalization in a child with autism spectrum disorder. The participants were a child with autism spectrum disorder and a parent. The music therapy session consisted of 12 sessions including two initial assessments and ten treatment sessions. The treatments were two parts including songs assessment and evaluation. A chosen song was repeated in the evaluation part focusing on parent-child interaction through music making based on interactive music therapy to enhance a child's sentence verbalization with prompts and parent support. Results of this study found that a child with autism spectrum disorder improved his verbalization from verbalizing in single words to verbalizing in three words sentence length including subject, verb, and object. Verbalization rating scale increased from 1.33 to 3. Moreover, parent-child interactive music therapy promoted verbal communication, initiation, and joint attention.
dc.description.abstractงานวิจัยกรณีศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของดนตรีบำบัดที่โดยเน้นการมี ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง บิดา มารดา และบุตร ที่มีต่อการพูดเป็นประโยคในเด็กที่มีภาวะออทิซึม โดยผู้เข้าร่วมการวิจัยประกอบด้วย เด็กออทิซึมที่มีอายุระหว่าง 4 - 6 ปี และผู้ปกครองจำนวน 1 คนกิจกรรมดนตรีบำบัดมีทั้งสิ้น 12 ครั้ง ประกอบด้วยการประเมินเบื้องต้นจำนวน 2 ครั้ง และการบำบัด 10 ครั้ง โดยการบำบัดถูกแบ่งออกเป็น 2 ช่วง ได้แก่ 1) การประเมินบทเพลง 2) การประเมินผล ในช่วงการประเมินบทเพลง ผู้วิจัยประเมินการตอบสนองของผู้เข้าร่วมที่ต่อเพลงจำนวน 5 เพลง และคัดเลือก 1 เพลงเพื่อนำมาประเมินผลการพูดเป็นประโยคในช่วงการประเมินผลต่อไป ในช่วงการประเมินผลเพลง "ฉันไปห้องน้ำ" ถูกเลือกมาใช้อย่างซ้ำ ๆ ผ่านกิจกรรมที่เน้นการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างเด็กและผู้ปกครอง เพื่อกระตุ้นการพูดเป็นประโยคของเด็กออทิซึม ผลของกิจกรรมนี้พบว่าเด็กที่มีภาวะออทิซึม มีทักษะการพูดเป็นประโยคที่สูงขึ้นปรากฏในแบบประเมินการพูดเป็นประโยคจากคะแนนเฉลี่ย 1.33 ไปถึง 3 หรือพัฒนาการพูดจากพูดเป็นคำ ๆ จนเป็นประโยค 3 คำประกอบด้วย ประธาน กริยา และกรรม นอกจากนี้ดนตรีบำบัดที่เน้นการมีปฎิสัมพันธ์ระหว่างบิดามารดาและบุตรยังเสริมสร้างการพูดออกเสียง และการตอบสนองทางการสื่อสารที่รวดเร็วมากขึ้น
dc.format.extentxi, 105 leaves : ill.
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationThesis (M.A. (Music))--Mahidol University, 2018
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92221
dc.language.isoeng
dc.publisherMahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderMahidol University
dc.subjectMusic therapy
dc.subjectBehavioral assessment
dc.subjectBehavior therapy -- Methods
dc.subjectChildren with autism spectrum disorders
dc.subjectAutism in children
dc.subjectAutistic Disorder -- therapy
dc.subjectBehavior Therapy -- methods
dc.subjectChild
dc.titleEffects of parent-child interactive music therapy on sentence verbalization in a child with autism spectrum disorder
dc.title.alternativeผลของดนตรีบำบัดโดยเน้นการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบิดา มารดา และบุตร ที่มีต่อการพูดเป็นประโยคในเด็กที่มีภาวะออทิสซึม
dc.typeMaster Thesis
dcterms.accessRightsopen access
mods.location.urlhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2562/552/5937338.pdf
thesis.degree.departmentCollege of Music
thesis.degree.disciplineMusic
thesis.degree.grantorMahidol University
thesis.degree.levelMaster's degree
thesis.degree.nameMaster of Arts

Files