Extension of the dRGT massive gravity for cosmological aspects
Issued Date
2023
Copyright Date
2016
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ix, 134 leaves : ill.
Access Rights
restricted access
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (Ph.D. (Physics))--Mahidol University, 2016
Suggested Citation
Lunchakorn Tannukij Extension of the dRGT massive gravity for cosmological aspects. Thesis (Ph.D. (Physics))--Mahidol University, 2016. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/89770
Title
Extension of the dRGT massive gravity for cosmological aspects
Alternative Title(s)
การขยายทฤษฎีแมสสีฟกราวิตีแบบ dRGT ในมุมมองของจักรวาลวิทยา
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
dRGT Massive gravity is recently one of the most promising candidates for the massive gravity theories which is successful in introducing mass to graviton without introducing the Boulware-Deser ghost instability. However, as far as the isotropic and homogeneous universe is concerned, dRGT Massive gravity is still not a good model for the Friedmann-Lemaitre-Robertson-Walker (FLRW) spacetime, which represents the geometry of such a universe. Here the further modifications of the dRGT Massive gravity are considered and analyzed in various ways such as the ghost instability investigation, degree of freedom counting, and also the corresponding cosmic evolutions.
ทฤษฎีแมสสีฟกราวิตีแบบ dRGT เป็นทฤษฎีแมสสีฟกราวิตีที่น่าสนใจมากที่สุดแบบหนึ่ง โดยทฤษฎีนี้ประสบความสำเร็จในการบรรยายอนุภาคกราวิตอนแบบมีมวลในขณะที่ทฤษฎี นี้ สามารถหลีกเลี่ยงความไม่เสถียรแบบ Boulware-Deser ได้ ถึงกระนั้น เราไม่สามารถใช้ทฤษฎีแมสสีฟกราวิตีแบบ dRGT สำหรับการบรรยายกาลอวกาศแบบ Friedmann-Lemaître-Robertson-Walker (FLRW) ซึ่งเป็นกาลอวกาศที่สอดคล้องกับเอกภพที่มีความไอโซทรอปี และความเอกพันธ์ได้อย่างเหมาะสม ในงานวิจัยชิ้นนี้เราจะทำการศึกษาทฤษฎีแมสสีฟกราวิตีที่ได้รับการดัดแปลงการศึกษาจะทำในหลายๆ แง่มุม เช่น การตรวจสอบความเสถียร จำนวนองศาอิสระ และการวิวัฒน์ของเอกภพภายใต้ทฤษฎีนี้
ทฤษฎีแมสสีฟกราวิตีแบบ dRGT เป็นทฤษฎีแมสสีฟกราวิตีที่น่าสนใจมากที่สุดแบบหนึ่ง โดยทฤษฎีนี้ประสบความสำเร็จในการบรรยายอนุภาคกราวิตอนแบบมีมวลในขณะที่ทฤษฎี นี้ สามารถหลีกเลี่ยงความไม่เสถียรแบบ Boulware-Deser ได้ ถึงกระนั้น เราไม่สามารถใช้ทฤษฎีแมสสีฟกราวิตีแบบ dRGT สำหรับการบรรยายกาลอวกาศแบบ Friedmann-Lemaître-Robertson-Walker (FLRW) ซึ่งเป็นกาลอวกาศที่สอดคล้องกับเอกภพที่มีความไอโซทรอปี และความเอกพันธ์ได้อย่างเหมาะสม ในงานวิจัยชิ้นนี้เราจะทำการศึกษาทฤษฎีแมสสีฟกราวิตีที่ได้รับการดัดแปลงการศึกษาจะทำในหลายๆ แง่มุม เช่น การตรวจสอบความเสถียร จำนวนองศาอิสระ และการวิวัฒน์ของเอกภพภายใต้ทฤษฎีนี้
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
Faculty of Science
Degree Discipline
Physics
Degree Grantor(s)
Mahidol University