ครอบครัว การสื่อสาร และสุขภาวะจิตใจของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจังหวัดกาญจนบุรี

dc.contributor.advisorพิมลพรรณ อิสรภักดี
dc.contributor.advisorกาญจนา ตั้งชลทิพย์
dc.contributor.authorฐิตินันทน์ ผิวนิล
dc.date.accessioned2024-01-23T01:30:41Z
dc.date.available2024-01-23T01:30:41Z
dc.date.copyright2556
dc.date.created2567
dc.date.issued2556
dc.descriptionวิจัยประชากรและสังคม (มหาวิทยาลัยมหิดล 2556)
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยครอบครัว การสื่อสารโทรคมนาคม และสุขภาวะจิตใจของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย อายุระหว่าง 15-19 ปี ในจังหวัดกาญจนบุรี การศึกษาวิจัยเชิงปริมาณใช้เทคนิคการสุ่มตัวอย่างอาศัยหลักความน่าจะเป็นโดยใช้แบบสอบถามเก็บข้อมูลนักเรียนจํานวน 1,074 คน ส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพใช้การ สัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างนักเรียนจํานวน 12 คน โดยดําเนินการการเก็บข้อมูลนักเรียนใน 3 โรงเรียน ช่วงปี การศึกษา 2555 ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยครอบครัวและการสื่อสารโทรคมนาคมสัมพันธ์กับสุขภาวะจิตใจของนักเรียนอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ จากการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุและการ วิเคราะห์เนื้อหาจากการวิจัยเชิงคุณภาพพบว่า ความสัมพันธ์ในครอบครัวมีความสําคัญมากกว่า ปัจจัยอื่น ๆ ในการอธิบายความผันแปรของสุขภาวะจิตใจของนักเรียน โดยนักเรียนทีมีความสัมพันธ์ ในครอบครัวด้านการปฏิบัติตามบทบาทหน้าทีทีเหมาะสมและสมาชิกครอบครัวมีการแสดงออกซึ่ง ความรักและความเอื้ออาทรต่อกันจะเป็นผู้ทีมีสุขภาวะจิตใจที่ดี สัดส่วนการเสพติดอินเทอร์เน็ตนับว่า เป็นอีกหนึ่งปัจจัยในกลุ่มการสื่อสารโทรคมนาคมที่พบว่ามีความสัมพันธ์กบสุขภาวะจิตใจทั้งใน ภาพรวมและการเกิดภาวะซึมเศร้าของเด็กนักเรียน โดยการเสพติดอินเทอร์เน็ตมากจะสัมพันธ์กับการมีสุขภาวะจิตใจโดยรวมไม่ดีและเพิมการเกิดภาวะซึมเศร้า ผลการศึกษาครั้งนี้จึงสนับสนุนการ สร้างสัมพันธภาพทีดีในครอบครัว ส่วนการศึกษาในอนาคตควรมีการพัฒนาดัชนีชี้วัดความสัมพันธ์ ครอบครัวให้สอดคล้องกับบริบทกับ กิจกรรมและวิถีชีวิตประจําวันในแต่ละครอบครัวต่อไป
dc.description.abstractThe objective of this study is to examine the association between family factors, communication factors, and mental well-being among high school students aged 15-19 in Kanchanaburi Province, Thailand. This quantitative study was carried out using the probability sampling technique and a questionnaire was used for data collection from 1,074 students. Qualitative research methods were used, and 12 students were interviewed. Data were collected from high school students in three schools during the 2012 academic year. The analysis shows that family and communication factors significantly affect high school students' mental well-being. Based on regression analysis and qualitative content analysis, family relationships factors are more important than other factors in explaining the variations in students' mental well-being. Regarding the family relationships domains, those who reported a high level of compliance with the appropriate roles within the family and a high level of expression of love and caring for each other had good mental well-being. Addiction to the Internet is the one communication factor that is associated with students' mental well-being. Regarding Internet addiction factors, students with a high level of addiction had low mental wellbeing and a high level of depression. The results of this study support building positive (good) family relationships. In future studies, family relationship indicators should be developed in the context of activities and lifestyle of the family in each region.
dc.format.extentก-ญ, 125 แผ่น
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (วิจัยประชากรและสังคม))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2556
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/93505
dc.language.isotha
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดล. หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderมหาวิทยาลัยมหิดล
dc.subjectครอบครัว -- ไทย
dc.subjectการสื่อสาร
dc.subjectสุขภาพจิต
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย -- ไทย -- กาญจนบุรี
dc.titleครอบครัว การสื่อสาร และสุขภาวะจิตใจของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจังหวัดกาญจนบุรี
dc.title.alternativeFamily, communication, and mental well-being among high school students in Kanchanaburi province
dc.typeMaster Thesis
dcterms.accessRightsopen access
mods.location.urlhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2556/cd474/5236704.pdf
thesis.degree.departmentสถาบันวิจัยประชากรและสังคม
thesis.degree.disciplineวิจัยประชากรและสังคม
thesis.degree.grantorมหาวิทยาลัยมหิดล
thesis.degree.levelปริญญาโท
thesis.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

Files