Test-enhanced case-based learning : a randomized trial
dc.contributor.advisor | Cherdsak Iramaneerat | |
dc.contributor.advisor | Tripop Lertbunnaphong | |
dc.contributor.author | Siriporn Thitisagulwong | |
dc.date.accessioned | 2024-01-04T01:17:13Z | |
dc.date.available | 2024-01-04T01:17:13Z | |
dc.date.copyright | 2019 | |
dc.date.created | 2019 | |
dc.date.issued | 2024 | |
dc.description | Health Science Education (Mahidol University 2019) | |
dc.description.abstract | The purpose of this study was to compare the effectiveness of testenhanced case-based learning and case-based learning alone on the common gynecologic problem (abnormal vaginal bleeding) in undergraduate medical students. Fifty-eight 4th-year medical students, who attended a 6-week rotation in the Department of Obstetrics & Gynecology, Rajavithi Hospital, were randomized into two groups, (1) the intervention group, and (2) the control group. The assessment of clinical reasoning used modified essay questions. All participants completed the study with no dropout. The results showed that means and standard deviations of posttest scores in the intervention group were higher than those in the control group but was not statistically different (t (56) = -1.143, p = .26). When subgroup analysis was performed, the test-enhanced case-based learning showed a significant benefit over case-based learning without a test in students who had low scores in pretest and posttest I (threatened abortion). In conclusion, test-enhanced case-based learning is a powerful learning tool for the special group of students with an appropriate topic and a proper level of difficulty of the tests. | |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิผลของการเรียนรู้แบบกรณีศึกษาที่ได้รับการสอบส่งเสริมการเรียนรู้กับการเรียนรู้แบบกรณีศึกษาโดยไม่มีการสอบ ทำการศึกษาในปัญหาทางนรีเวชที่พบบ่อย (เลือดออกผิดปกติจากช่องคลอด) เป็นการวิจัยแบบสุ่มทดลองในนักศึกษาแพทย์ระดับปริญญาตรี ชั้นปี ที่ 4 ที่ขึ้นเรียนเป็นเวลา 6 สัปดาห์ ที่ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา โรงพยาบาลราชวิถี จำนวน 58 คน สุ่มเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มแรกได้รับการเรียนแบบ กรณีศึกษาได้รับการสอบส่งเสริมการเรียนรู้ กลุ่มที่สองเรียนรู้แบบกรณีศึกษาโดยไม่มีการสอบวัดผลการเรียนรู้ด้านทักษะการคิดวิเคราะห์ทางคลินิกด้วยข้อสอบ MEQ ทั้งสองกลุ่ม ในการศึกษานี้ไม่มีผู้เข้าร่วมวิจัยคนใดออกจากการศึกษานี้เลย ผลการศึกษาพบว่า ระดับคะแนนหลังเรียนของกลุ่มได้รับการสอบส่งเสริมการเรียนรู้ สูงกว่าอีกกลุ่ม แต่ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t (56) = -1.143, p = .26) เมื่อทำการวิเคราะห์กลุ่มย่อย พบว่าการเรียนแบบกรณีศึกษาได้รับการสอบส่งเสริมการเรียนรู้มีประโยชน์อย่างมีนัยสำคัญต่อการเรียนรู้ในนักเรียนที่มีระดับคะแนนการสอบก่อนเรียนต่ำ และหลังการทดสอบข้อที่ 1 (ภาวะแท้งคุกคาม) โดยสรุป การเรียนรู้แบบกรณีศึกษาที่ได้รับการสอบส่งเสริมการเรียนรู้เป็นเครื่องมือการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพสาหรับนักเรียนที่มีคะแนนก่อนเรียนต่ำ หากเลือกหัวข้อและระดับความยากของการทดสอบที่เหมาะสม | |
dc.format.extent | x, 97 leaves : ill. | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier.citation | Thesis (M.Sc. (Health Science Education))--Mahidol University, 2019 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91667 | |
dc.language.iso | eng | |
dc.publisher | Mahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center | |
dc.rights | ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า | |
dc.rights.holder | Mahidol University | |
dc.subject | Education, Medical | |
dc.title | Test-enhanced case-based learning : a randomized trial | |
dc.title.alternative | การวิจัยเชิงทดลองแบบสุ่ม โดยใช้การสอบส่งเสริมการเรียนรู้แบบกรณีศึกษา | |
dcterms.accessRights | open access | |
mods.location.url | http://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2561/542/5937356.pdf | |
thesis.degree.department | Faculty of Medicine Siriraj Hospital | |
thesis.degree.discipline | Health Science Education | |
thesis.degree.grantor | Mahidol University | |
thesis.degree.level | Master's degree | |
thesis.degree.name | Master of Science |