The synergy between the biblical principles and the principles of 101S positive discipline for raising children base on human development
Issued Date
2016
Copyright Date
2016
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xii, 92 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Human Development))--Mahidol University, 2016
Suggested Citation
Chotipat Sombuntanont The synergy between the biblical principles and the principles of 101S positive discipline for raising children base on human development. Thesis (M.Sc. (Human Development))--Mahidol University, 2016. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/93297
Title
The synergy between the biblical principles and the principles of 101S positive discipline for raising children base on human development
Alternative Title(s)
ความสอดคล้องของหลักการเลี้ยงลูกตามพระคริสตธรรมคัมภีร์และหลักการ 101S การสร้างวินัยเชิงบวกบนพื้นฐานของพัฒนาการมนุษย์
Author(s)
Abstract
In this era, the job markets around the world require 21st century skills. Based on relevant research, the 21st century skills are related to executive function (EF). A number of multidisciplinary research has shown that one of the main factors that promote EF development is positive and responsive care in early life. A growing body of research in the 101s Positive Discipline Training program, a set of research- based techniques for providing children with responsive care could support children's development and self-discipline. Previous research found that when the parents understood the "How to" techniques for practices, they were more likely to act responsively and sensitively towards their children, and be able to promote EF development. Nonetheless, based on a survey of parenting practices in Thailand, the result showed that, even though the parents who were based their parenting practices on the Biblical principles for raising children, the love-based principles, they still used spanking and punishment, and struggled with its interpretation in parenting practices. Together, the Biblical handbooks for parenting suggested that spanking and punishment are acceptable. They demanded an explanation for effective parenting practices. Therefore, this research aimed to synthesize the principles of Bible and the 101s Positive Discipline in order to develop a theoretical grounded and practical based interpretation of parenting practices for those parents who held the Biblical principles for raising children. This research is a documentary research designed to investigate the meanings of the two principles toward child-raring practices. Two major themes were revealed, including the view of children and the view of parenting practices. The findings from the syntheses of the Biblical and the principles of 101s Positive Discipline on human development showed that the two principals were consistent both in the view of children and the view of parenting practices. The core concept of the synergetic discipline, "The positive ways to follow God's way for raising children's, is proposed for the parenting handbook. The synergetic discipline would instill children in positive ways in order to promote children's brain, mind, and behavioral development and help them to stay in God's way.
ในยุคนี้ ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 เป็นสิ่งที่ตลาดแรงงานทั่วโลกมีความต้องการ จากงานวิจัยพบว่า ทักษะการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 เกี่ยวข้องกับกระบวนการคิดเชิงบริหาร (EF) และหนึ่งในปัจจัยที่สําคัญที่สุดใน การส่งเสริมกระบวนการคิดเชิงบริหาร คือ ความสามารถของผู้เลี้ยงดู ในการตอบสนองความต้องการของเด็กได้ด้วยความรัก และความเข้าใจ ในประเทศไทยมีงานวิจัยเพ่ิมขึ้นต่อเน่ือง ในเรื่องการอบรมเทคนิค 101s การสร้าง วินัยเชิงบวกให้แก่พ่อแม่ และครูปฐมวัย ที่ได้ผลว่า สามารถเพิ่มความสามารถให้กับผู้เลี้ยงดูเด็ก และยังช่วย ส่งเสริมพัฒนาการ และวินัยในตนเองให้แก่เด็กด้วย ผลจากการวิจัยที่ผ่านมา สรุปได้ว่า เมื่อผู้ปกครองมีความเข้าใจ ในวิธีการว่า "ใช้อย่างไร" ผู้ปกครองจะสามารถตอบสนองต่อเด็กได้อย่างอบอุ่นและอ่อนโยน และส่งผลต่อการ พัฒนากระบวนการคิดเชิงบริหารของเด็ก อย่างไรก็ตามจากการสํารวจวิธีการเลี้ยงลูกของผู้ปกครองในประเทศ ไทยที่ยึดหลักการพระคริสตธรรมคัมภีร์ในการเลี้ยงลูก พบว่า ถึงแม้ว่าหัวใจหลักของพระคริสตธรรมคัมภีร์ จะมี ความรัก เป็นรากฐาน แต่การตีและการลงโทษก็ยังคงเกิดขึ้น ซึ่งสาเหตุหลัก มาจากการตีความหลักการเป็นวิธี ปฏิบัติที่มีความหลากหลาย และ ยิ่งไปกว่านั้นยังพบว่า หนังสือคู่มือการเลี้ยงลูกตามหลักพระคริสตธรรมคัมภีร์ก็ สนับสนุนวิธีการตี และลงโทษ ส่งผลให้ผู้ปกครอง ต้องการรู้วิธีการเลี้ยงดู ที่ช่วยส่งเสริมพัฒนาการได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อ วิเคราะห์ และสังเคราะห์ หลักการคริสตธรรมและหลักการ 101s การสร้างวินัยเชิงบวก เพื่อพัฒนาวิธีการเลี้ยงดูเด็ก บนพื้นฐานของการสังเคราะห์ทฤษฎีสําหรับผู้ปกครองที่ ยึดหลักพระคริสตธรรมคัมภีร์ในการเลี้ยงลูก งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงเอกสารเพื่อวิเคราะห์ และสังเคราะห์ การตีความหมายของทั้งสองหลักการเกี่ยวกับวิธีการเลี้ยงเด็ก จากการทบทวนวรรณกรรมทําให้พบสองหัวข้อหลักใน การวิเคราะห์คือ มุมมองต่อเด็ก และมุมมองต่อวิธีการเลี้ยงเด็ก ผลจากการสังเคราะห์ทั้งสองหลักการโดยใช้กรอบแนวคิดพัฒนาการมนุษย์ พบว่ามีความ สอดคล้องกันทั้งในมุมมองต่อเด็ก และมุมมองต่อวิธีการเลี้ยงเด็ก นอกจากนั้นยังได้แนวคิดการฝึกวินัยแบบ บูรณาการสําหรับคู่มือเลี้ยงดูเด็กในชื่อว่า "วิธีการเลี้ยงลูกเชิงบวกในทางของพระเจ้า" ซึ่งแนวคิดนี้จะช่วยส่งเสริม ความเข้าใจ และความสามารถในการเลี้ยงเด็กเชิงบวกให้แก่ผู้เลี้ยงดู เพื่อให้สามารถส่งเสริมพัฒนาการสมอง จิตใจ และ พฤติกรรมของเด็กต่อไปได้ อีกทั้งยังทําให้เด็กเติบโตขึ้นในทางของพระเจ้าอีกด้วย
ในยุคนี้ ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 เป็นสิ่งที่ตลาดแรงงานทั่วโลกมีความต้องการ จากงานวิจัยพบว่า ทักษะการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 เกี่ยวข้องกับกระบวนการคิดเชิงบริหาร (EF) และหนึ่งในปัจจัยที่สําคัญที่สุดใน การส่งเสริมกระบวนการคิดเชิงบริหาร คือ ความสามารถของผู้เลี้ยงดู ในการตอบสนองความต้องการของเด็กได้ด้วยความรัก และความเข้าใจ ในประเทศไทยมีงานวิจัยเพ่ิมขึ้นต่อเน่ือง ในเรื่องการอบรมเทคนิค 101s การสร้าง วินัยเชิงบวกให้แก่พ่อแม่ และครูปฐมวัย ที่ได้ผลว่า สามารถเพิ่มความสามารถให้กับผู้เลี้ยงดูเด็ก และยังช่วย ส่งเสริมพัฒนาการ และวินัยในตนเองให้แก่เด็กด้วย ผลจากการวิจัยที่ผ่านมา สรุปได้ว่า เมื่อผู้ปกครองมีความเข้าใจ ในวิธีการว่า "ใช้อย่างไร" ผู้ปกครองจะสามารถตอบสนองต่อเด็กได้อย่างอบอุ่นและอ่อนโยน และส่งผลต่อการ พัฒนากระบวนการคิดเชิงบริหารของเด็ก อย่างไรก็ตามจากการสํารวจวิธีการเลี้ยงลูกของผู้ปกครองในประเทศ ไทยที่ยึดหลักการพระคริสตธรรมคัมภีร์ในการเลี้ยงลูก พบว่า ถึงแม้ว่าหัวใจหลักของพระคริสตธรรมคัมภีร์ จะมี ความรัก เป็นรากฐาน แต่การตีและการลงโทษก็ยังคงเกิดขึ้น ซึ่งสาเหตุหลัก มาจากการตีความหลักการเป็นวิธี ปฏิบัติที่มีความหลากหลาย และ ยิ่งไปกว่านั้นยังพบว่า หนังสือคู่มือการเลี้ยงลูกตามหลักพระคริสตธรรมคัมภีร์ก็ สนับสนุนวิธีการตี และลงโทษ ส่งผลให้ผู้ปกครอง ต้องการรู้วิธีการเลี้ยงดู ที่ช่วยส่งเสริมพัฒนาการได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อ วิเคราะห์ และสังเคราะห์ หลักการคริสตธรรมและหลักการ 101s การสร้างวินัยเชิงบวก เพื่อพัฒนาวิธีการเลี้ยงดูเด็ก บนพื้นฐานของการสังเคราะห์ทฤษฎีสําหรับผู้ปกครองที่ ยึดหลักพระคริสตธรรมคัมภีร์ในการเลี้ยงลูก งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงเอกสารเพื่อวิเคราะห์ และสังเคราะห์ การตีความหมายของทั้งสองหลักการเกี่ยวกับวิธีการเลี้ยงเด็ก จากการทบทวนวรรณกรรมทําให้พบสองหัวข้อหลักใน การวิเคราะห์คือ มุมมองต่อเด็ก และมุมมองต่อวิธีการเลี้ยงเด็ก ผลจากการสังเคราะห์ทั้งสองหลักการโดยใช้กรอบแนวคิดพัฒนาการมนุษย์ พบว่ามีความ สอดคล้องกันทั้งในมุมมองต่อเด็ก และมุมมองต่อวิธีการเลี้ยงเด็ก นอกจากนั้นยังได้แนวคิดการฝึกวินัยแบบ บูรณาการสําหรับคู่มือเลี้ยงดูเด็กในชื่อว่า "วิธีการเลี้ยงลูกเชิงบวกในทางของพระเจ้า" ซึ่งแนวคิดนี้จะช่วยส่งเสริม ความเข้าใจ และความสามารถในการเลี้ยงเด็กเชิงบวกให้แก่ผู้เลี้ยงดู เพื่อให้สามารถส่งเสริมพัฒนาการสมอง จิตใจ และ พฤติกรรมของเด็กต่อไปได้ อีกทั้งยังทําให้เด็กเติบโตขึ้นในทางของพระเจ้าอีกด้วย
Description
Human Development (Mahidol University 2016)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
National Institute for Child and Family Development
Degree Discipline
Human Development
Degree Grantor(s)
Mahidol University