Implementation of the chronic care model by registered nursis in subdistrict health promoting hospital, Nakhon Ratchasima province, Thailand
Issued Date
2024
Copyright Date
2017
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xi, 146 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Public Health))--Mahidol University, 2017
Suggested Citation
Pramote Thangkratok Implementation of the chronic care model by registered nursis in subdistrict health promoting hospital, Nakhon Ratchasima province, Thailand. Thesis (M.Sc. (Public Health))--Mahidol University, 2017. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92453
Title
Implementation of the chronic care model by registered nursis in subdistrict health promoting hospital, Nakhon Ratchasima province, Thailand
Alternative Title(s)
การดำเนินงานตามรูปแบบการดูแลโรคเรื้อรังโดยพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลจังหวัดนครราชสีมา
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
Registered nurses in subdistrict health promoting hospital (SHPH) have a major role in developing and improving care for patients with chronic diseases. The purpose of this study was to assess the implementation of the chronic care model and associated factors of registered nurses in SHPH, Nakhon Ratchasima province, Thailand. This descriptive research was conducted among 200 registered nurses selected by simple random sampling. The research instruments were self-administered questionnaires. Descriptive statistics, Chi-square test and multiple logistic regression analysis were used for data analyses. From the study, it was found that the implementation of the chronic care model by registered nurses in SHPH, Nakhon Ratchasima province was high both in small and medium hospitals. Factors related to the implementation of the chronic care model were age, Work experience in SHPH, knowledge on chronic diseases care, positive attitude toward caring for patients with chronic diseases, motivation to work effort, and organizational support. Variations on implementation of the chronic care model can be explained by high level of knowledge on chronic diseases care, highly positive attitude towards care of patient with chronic diseases and high level of organizational support at 38.53%. The recommendation from the research findings is guidelines and encourage the community to participate in the prevention, control and monitoring of patients with chronic diseases should be developed, networks and good relationships with stakeholders in the community should be built, there should be promotion on the development of knowledge and skills in chronic diseases care such as the provision of training in chronic diseases care, encourage and support research on innovative care for chronic diseases. However, there were some limitations in this research due to the data collection was self-assessment and the sample group was selected using purposive sampling thus, it cannot be used as reference for other population groups.
พยาบาลวิชาชีพมีบทบาทความสำคัญอย่างยิ่งในการดำเนินงานตามรูปแบบการดูแลโรคเรื้อรังการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการดำเนินงานตามรูปแบบการดูแลโรคเรื้อรังและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการดำเนินงานตามรูปแบบการดูแลโรคเรื้อรังของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดนครราชสีมา กลุ่มตัวอย่างคือพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดนครราชสีมา จำนวน 200 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และหาความสัมพันธ์ด้วยการทดสอบไคสแควร์ และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการศึกษาพบว่า การดำเนินงานตามรูปแบบการดูแลโรคเรื้อรังโดยพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดนครราชสีมาอยู่ในระดับสูง ทั้งรพ.สต.ขนาดกลางและขนาดเล็ก ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการดำเนินงานตามรูปแบบการดูแลโรคเรื้อรัง ได้แก่ อายุ ประสบการณ์การปฏิบัติงานในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ความรู้เกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ทัศนคติที่ดีต่อการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง แรงจูงใจในการปฏิบัติงานและปัจจัยสนับสนุนการปฏิบัติงาน และยังพบว่าความรู้เกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ทัศนคติที่ดีต่อการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และปัจจัยสนับสนุนการปฏิบัติงานในระดับสูง สามารถอธิบายการผันแปรการดำเนินงานตามรูปแบบการดูแลโรคเรื้อรังโดยพยาบาลวิชาชีพได้ร้อยละ 38.53 ข้อเสนอแนะจากผลการวิจัยในครั้งนี้คือ ควรพัฒนาแนวทางและส่งเสริมสนับสนุนให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงานป้องกัน ควบคุม ดูแลติดตามผู้ป่วยโรคเรื้อรัง สร้างเครือข่ายและสัมพันธภาพที่ดีกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในชุมชน ควรส่งเสริมโอกาสพัฒนาความรู้ ความชำนาญ เกี่ยวกับการดูแลโรคเรื้อรัง เช่น การจัดให้มีการฝึกอบรมการปฏิบัติงานตามรูปแบบการดูแลโรคเรื้อรัง ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการศึกษาวิจัยด้านนวัตกรรมการดูแลโรคเรื้อรัง อย่างไรก็ดี การวิจัยนี้มีข้อจำกัดบางประการเนื่องจากการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบ self-assessment และเป็นการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง จึงไม่สามารถนาไปอ้างอิงประชากรกลุ่มอื่นได้
พยาบาลวิชาชีพมีบทบาทความสำคัญอย่างยิ่งในการดำเนินงานตามรูปแบบการดูแลโรคเรื้อรังการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการดำเนินงานตามรูปแบบการดูแลโรคเรื้อรังและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการดำเนินงานตามรูปแบบการดูแลโรคเรื้อรังของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดนครราชสีมา กลุ่มตัวอย่างคือพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดนครราชสีมา จำนวน 200 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และหาความสัมพันธ์ด้วยการทดสอบไคสแควร์ และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการศึกษาพบว่า การดำเนินงานตามรูปแบบการดูแลโรคเรื้อรังโดยพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดนครราชสีมาอยู่ในระดับสูง ทั้งรพ.สต.ขนาดกลางและขนาดเล็ก ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการดำเนินงานตามรูปแบบการดูแลโรคเรื้อรัง ได้แก่ อายุ ประสบการณ์การปฏิบัติงานในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ความรู้เกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ทัศนคติที่ดีต่อการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง แรงจูงใจในการปฏิบัติงานและปัจจัยสนับสนุนการปฏิบัติงาน และยังพบว่าความรู้เกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ทัศนคติที่ดีต่อการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และปัจจัยสนับสนุนการปฏิบัติงานในระดับสูง สามารถอธิบายการผันแปรการดำเนินงานตามรูปแบบการดูแลโรคเรื้อรังโดยพยาบาลวิชาชีพได้ร้อยละ 38.53 ข้อเสนอแนะจากผลการวิจัยในครั้งนี้คือ ควรพัฒนาแนวทางและส่งเสริมสนับสนุนให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงานป้องกัน ควบคุม ดูแลติดตามผู้ป่วยโรคเรื้อรัง สร้างเครือข่ายและสัมพันธภาพที่ดีกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในชุมชน ควรส่งเสริมโอกาสพัฒนาความรู้ ความชำนาญ เกี่ยวกับการดูแลโรคเรื้อรัง เช่น การจัดให้มีการฝึกอบรมการปฏิบัติงานตามรูปแบบการดูแลโรคเรื้อรัง ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการศึกษาวิจัยด้านนวัตกรรมการดูแลโรคเรื้อรัง อย่างไรก็ดี การวิจัยนี้มีข้อจำกัดบางประการเนื่องจากการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบ self-assessment และเป็นการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง จึงไม่สามารถนาไปอ้างอิงประชากรกลุ่มอื่นได้
Description
Public Health (Mahidol University 2017)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Public Health
Degree Discipline
Public Health
Degree Grantor(s)
Mahidol University