A corpus-based study of antonym sequence in Japanese
Issued Date
2018
Copyright Date
2018
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ix, 144 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (Ph.D. (Linguistics))--Mahidol University, 2018
Suggested Citation
Phornthip Nithithanawiwat A corpus-based study of antonym sequence in Japanese. Thesis (Ph.D. (Linguistics))--Mahidol University, 2018. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92231
Title
A corpus-based study of antonym sequence in Japanese
Alternative Title(s)
การศึกษาลำดับคำตรงข้ามในภาษาญี่ปุ่นจากคลังข้อมูลภาษา
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
A corpus-based study of antonym sequencing in Japanese aimed: (1) to investigate antonym sequencing when co-occurring in one sentence; (2) to investigate the factors affecting antonym sequencing; (3) to examine whether the preferred ordering within antonym pairs is determined by frequency or not. This study tested 2 hypotheses. First, different frequency patterns of the order within antonym pairs in antonym sequences in Japanese follow the markedness principle; Second, more frequently used antonyms of antonym pairs occur more frequently in the preferred position within antonym sequences in Japanese. The data was collected from Tsukuba Web Corpus, and the test hypothesis regarding population proportion was used for the test statistic. The collected antonymous pairs were ordered according to predictive markedness properties, and they were tested by population proportion. The 131 antonym pairs (69 percent from total 191 pairs) which had p value below 0.05 may support the first hypothesis, that different frequency patterns of the ordered antonym pairs in antonym sequences in Japanese follow the principle of markedness. It was found that 7 factors based on the principle of markedness influenced sequencing, namely positivity, phonology, morphology, magnitude, chronology, spatial position and culture-specific factor. The later consists of yin-yang principle which is based on Chinese philosophy, uchi-soto and seniority. These three exist in the socio-cultural fabric of Japan. Uchi-soto notion is unique character of Japanese culture. It is reflected in real language use and appears in antonym sequencing such as kokunai 'domestic' prcedes kokusai 'international by 72%. It seems to provide priority of relationship with Japan (as uchi 'inside') more than other countries (as soto 'outside') following uchi-soto notion. Moreover, the word frequency influenced the preferred ordering of 85 antonym pairs in Japanese by 65 percent (from total 131 pairs), and it may be sufficient evidence to support the second hypothesis, that more frequently-used antonyms of antonym pairs occur more frequently in their preferred position within antonym sequences when co-occurring in one sentence in Japanese.
การศึกษาลำดับคำตรงกันข้ามในภาษาญี่ปุ่นจากคลังข้อมูลภาษามีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการลำดับคำตรงกันข้ามที่เกิดขึ้นในหนึ่งประโยค 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการลำดับคำตรงกันข้ามในภาษาญี่ปุ่น 3) เพื่อตรวจสอบว่าในลำดับแรกของคู่คำตรงกันข้ามนั้นได้ถูกกำหนดโดยความถี่หรีอไม่ ข้อมูลคำตรงกันข้ามที่นำมาศึกษาได้ค้นหาและรวบรวมจากคลังข้อมูลภาษาของ Tsukuba Web Corpus คู่คำตรงกันข้ามที่รวบรวมได้นั้นจะนำมาจัดเรียงตามหลักทฤษฎี Markedness Principle และได้ทดสอบทางสถิติโดยใช้การ ทดสอบสมมุติฐานเกี่ยวกับค่าสัดส่วนประชากรเดียว ผลการทดสอบทางสถิติพบว่าคำตรงกันข้ามที่มีค่าความน่าจะเป็นต่ำกว่า 0.05 มีจำนวน131 คู่จากจำนวนทั้งหมด 191 คิดเป็น 69 % ข้อค้นพบนี้สามารถเป็นหลักฐานที่สนับสนุนสมมุติฐานในข้อแรกที่ว่ารูปแบบความถี่ที่แตกต่างกันของการลำดับภายในคู่คำตรงข้ามในลำดับคำตรงข้ามในภาษาญี่ปุ่นนั้นเป็นไปตามทฤษฎี Markedness Principle พบว่าการลำดับคู่คำตรงข้ามในภาษาญี่ปุ่น ได้ถูกกำหนดโดยปัจจัยเหล่านี้คือ ด้านบวก ด้านสัทวิทยา ด้านวิทยาหน่วยคำ ด้านขนาด ด้านการลำดับเวลาด้านการลำดับทิศทาง และด้านลักษณะเฉพาะทางวัฒนธรรม ปัจจัยด้านลักษณะเฉพาะทางวัฒนธรรมนี้ ประกอบด้วยองค์ประกอบย่อยคือ หยินหยาง (yin-yang) ลำดับอาวุโส (seniority) ซึ่งมาจากปรัชญาจีนและคนในคนนอก (uchi-soto) นี้เป็นลักษณะเฉพาะที่มีอยู่ในสังคมวัฒนธรรมญี่ปุ่นที่มีการแบ่งแยกระหว่างคนใน (uchi) และคนนอก (soto) ซึ่งสะท้อนให้เห็นได้จากการใช้ภาษาจริง โดยเห็นได้จากการเรียงลำดับคำตรงกันข้ามเช่น kokunai 'domestic' นำมาก่อน kokusai 'international' ใน 72% การลำดับคำตรงข้ามคู่นี้แสดงให้เห็นว่าคนญี่ปุ่นได้ให้ความสำคัญกับคำที่มีความสัมพันธ์กับญี่ปุ่นซึ่งคือคนใน (uchi 'inside) มาก่อนชาติอื่นซึ่งคือคนนอก (soto 'outside') นอกจากนี้พบว่าคำที่ใช้ถี่กว่าในคู่คำตรงกันข้ามจำนวน 85 คู่ จาก131 คู่ คิดเป็น 65% จะอยู่ในตำแหน่งแรกเมื่อคู่คำตรงกันข้ามปรากฏในหนึ่งประโยค ซึ่งการค้นพบนี้อาจจะสนับสนุนสมมุติฐานในข้อที่สองที่ว่าคำตรงกันข้ามที่มีความถี่ในการใช้จะปรากฏในตำแหน่งแรกของการลำดับคำตรงกันข้ามในภาษาญี่ปุ่นได้
การศึกษาลำดับคำตรงกันข้ามในภาษาญี่ปุ่นจากคลังข้อมูลภาษามีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการลำดับคำตรงกันข้ามที่เกิดขึ้นในหนึ่งประโยค 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการลำดับคำตรงกันข้ามในภาษาญี่ปุ่น 3) เพื่อตรวจสอบว่าในลำดับแรกของคู่คำตรงกันข้ามนั้นได้ถูกกำหนดโดยความถี่หรีอไม่ ข้อมูลคำตรงกันข้ามที่นำมาศึกษาได้ค้นหาและรวบรวมจากคลังข้อมูลภาษาของ Tsukuba Web Corpus คู่คำตรงกันข้ามที่รวบรวมได้นั้นจะนำมาจัดเรียงตามหลักทฤษฎี Markedness Principle และได้ทดสอบทางสถิติโดยใช้การ ทดสอบสมมุติฐานเกี่ยวกับค่าสัดส่วนประชากรเดียว ผลการทดสอบทางสถิติพบว่าคำตรงกันข้ามที่มีค่าความน่าจะเป็นต่ำกว่า 0.05 มีจำนวน131 คู่จากจำนวนทั้งหมด 191 คิดเป็น 69 % ข้อค้นพบนี้สามารถเป็นหลักฐานที่สนับสนุนสมมุติฐานในข้อแรกที่ว่ารูปแบบความถี่ที่แตกต่างกันของการลำดับภายในคู่คำตรงข้ามในลำดับคำตรงข้ามในภาษาญี่ปุ่นนั้นเป็นไปตามทฤษฎี Markedness Principle พบว่าการลำดับคู่คำตรงข้ามในภาษาญี่ปุ่น ได้ถูกกำหนดโดยปัจจัยเหล่านี้คือ ด้านบวก ด้านสัทวิทยา ด้านวิทยาหน่วยคำ ด้านขนาด ด้านการลำดับเวลาด้านการลำดับทิศทาง และด้านลักษณะเฉพาะทางวัฒนธรรม ปัจจัยด้านลักษณะเฉพาะทางวัฒนธรรมนี้ ประกอบด้วยองค์ประกอบย่อยคือ หยินหยาง (yin-yang) ลำดับอาวุโส (seniority) ซึ่งมาจากปรัชญาจีนและคนในคนนอก (uchi-soto) นี้เป็นลักษณะเฉพาะที่มีอยู่ในสังคมวัฒนธรรมญี่ปุ่นที่มีการแบ่งแยกระหว่างคนใน (uchi) และคนนอก (soto) ซึ่งสะท้อนให้เห็นได้จากการใช้ภาษาจริง โดยเห็นได้จากการเรียงลำดับคำตรงกันข้ามเช่น kokunai 'domestic' นำมาก่อน kokusai 'international' ใน 72% การลำดับคำตรงข้ามคู่นี้แสดงให้เห็นว่าคนญี่ปุ่นได้ให้ความสำคัญกับคำที่มีความสัมพันธ์กับญี่ปุ่นซึ่งคือคนใน (uchi 'inside) มาก่อนชาติอื่นซึ่งคือคนนอก (soto 'outside') นอกจากนี้พบว่าคำที่ใช้ถี่กว่าในคู่คำตรงกันข้ามจำนวน 85 คู่ จาก131 คู่ คิดเป็น 65% จะอยู่ในตำแหน่งแรกเมื่อคู่คำตรงกันข้ามปรากฏในหนึ่งประโยค ซึ่งการค้นพบนี้อาจจะสนับสนุนสมมุติฐานในข้อที่สองที่ว่าคำตรงกันข้ามที่มีความถี่ในการใช้จะปรากฏในตำแหน่งแรกของการลำดับคำตรงกันข้ามในภาษาญี่ปุ่นได้
Description
Linguistics (Mahidol University 2018)
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
Research Institute for Languages and Cultures of Asia
Degree Discipline
Linguistics
Degree Grantor(s)
Mahidol University