Purification and characterization of thermotolerant lipase (s) from a microorganism isolated from raw milk
Issued Date
2024
Copyright Date
1996
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xii, 123 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Biotechnology))--Mahidol University, 1996
Suggested Citation
Palanee Ammaranond Purification and characterization of thermotolerant lipase (s) from a microorganism isolated from raw milk. Thesis (M.Sc. (Biotechnology))--Mahidol University, 1996. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/99275
Title
Purification and characterization of thermotolerant lipase (s) from a microorganism isolated from raw milk
Alternative Title(s)
การทำให้บริสุทธิ์และศึกษาคุณสมบัติของเอนไซม์ไลเปสที่ทนอุณภูมิสูงจากเชื้อจุลินทรีย์ที่แยกได้จากน้ำนมดิบ
Author(s)
Abstract
A lipase-producing microorganism yeast strain was isolated from raw milk. It was identified as Trichosporon asteroides LP005. Optimum physical condition for cultivation was at 30 degree C temperature with agitation 200 rpm. A production medium has been developed for T. asteroides LP005 lipase which composes of mineral salts of medium A supplemented with 0.5% soybean meal, 0.5% beef extract and 0.5% palm oil. The purification process of T. asteroides LP005 lipase included ammonium sulphate precipitation at 70% saturation and gel filtration chromatography on Sephadex G-200. The molecular weight of the lipase determined by SDS-PAGE was 45 kDa. The optimum pH and temperature of T. asteriodes LP005 for activity are pH 5.0 and 60 degree C, respectively. This lipase was stable at acidic condition and temperature lower than 70 degree C. The chelating agent, EDTA, did not affect the activity of the enzyme which suggesting that it was not a metalloenyme. T. asteroides LP005 lipase was positional non-specificity. The ability of this lipase to efficiently hydrolyze tuna oil indicated its potential to be applied for the production of EPA and DHA. T. asteroides LP005 could increase the concentration of EPA and DHA approximately 33% and 47%, respectively. T. asteroides LP005 lipase could also potentially be used for lipid-riched wastewater treatment as it could decrease the BOD value of the wastewater from S&P bakery factory by approximately 50%.
เชื้อยีสต์สายพันธุ์ LP005 เป็นยีสต์ที่แยกได้จากน้ำนมดิบ พบว่าสามารถสร้างเอนไซม์ไลเปสได้ปริมาณสูง จากการจำแนก เชื้อพบว่าเป็นชนิด Trichosporon asteroides จากการ ศึกษาพบว่าอุณหภูมิที่เหมาะสมในการเลี้ยงเชื้อคือ 30 องศา เซลเซียส การสร้างเอนไซม์ไลเปสของเชื้อ T. asteroides LP005 สามารถทำให้เพิ่มมากขึ้นได้โดยใช้อาหารเลี้ยงเชื้อ ซึ่งประกอบด้วย Mineral Salts of Medium A, 0.5% beef extract, 0.5% กากถั่วเหลืองและ 0.5% น้ำมันปาล์ม เอนไซม์ไลเปสที่สร้างขึ้นโดยเชื้อ T. asteroides LP005 สามารถถูกทำให้บริสุทธิ์ได้โดยการตกตะกอนด้วยแอมโมเนียม ซัลเฟตที่ความเข้มข้นอิ่มตัว 70% และผ่านกระบวนการ gel filtration ด้วย Sephadex G-200 เอนไซม์บริสุทธิ์ที่ได้ เมื่อนำไปวิเคราะห์ขนาดของโปรตีนด้วยวิธี SDS-PAGE พบว่า เอนไซม์มีขนาดประมาณ 45 kDa จากการศึกษาคุณสมบัติจำเพาะ พบว่า อุณหภูมิที่เหมาะสมในการทำงานของเอนไซม์คือ 60 องศา เซลเซียส ที่ pH 5.0 และเอนไซม์ยังมีความคงทนเมื่ออยู่ใน สภาวะที่เป็นกรด และที่อุณหภูมิต่ำกว่า 70 องศาเซลเซียส จากการทดสอบการทำงานของเอนไซม์ในสภาวะที่มีอิออนชนิด ต่างๆ พบว่า เอนไซม์สามารถทำงานได้โดยไม่ต้องอาศัยอิออน เหล่านั้น จากการที่พบว่า EDTA ไม่มีผลยับยั้งการทำงานของ เอนไซม์ จึงเป็นไปได้อย่างมากว่าไม่ใช่เอนไซม์ชนิด metalloenzyme ไลเปสนี้ยังไม่แสดงความจำเพาะที่ตำแหน่งใด ของกรดไขมันในโมเลกุลของไตรกลีเซอไรด์อีกด้วย เอนไซม์ไลเปส ที่ผลิตจาก T. asteroides LP005 สามารถย่อยน้ำมันปลาได้ดี จึงสามารถนำเอาเอนไซม์ไปใช้ประโยชน์ได้ในการเพิ่มปริมาณ ของ EPA และ DHA โดยเอนไซม์ไลเปสที่ผลิตจาก T. asteroides LP005 สามารถเพิ่มการสร้าง EPA และ DHA ที่มีอยู่ในน้ำมันปลา ได้ประมาณ 33% และ 47% ตามลำดับ รวมทั้งคุณสมบัติในการใช้ เอนไซม์ไลเปสจากเชื้อ T. asteroides LP005 ลดค่า BOD ของน้ำเสียจากโรงงาน S&P ที่มีไขมันอยู่ปริมาณมาก โดยสามารถ ลดค่า BOD ได้ประมาณ 50%
เชื้อยีสต์สายพันธุ์ LP005 เป็นยีสต์ที่แยกได้จากน้ำนมดิบ พบว่าสามารถสร้างเอนไซม์ไลเปสได้ปริมาณสูง จากการจำแนก เชื้อพบว่าเป็นชนิด Trichosporon asteroides จากการ ศึกษาพบว่าอุณหภูมิที่เหมาะสมในการเลี้ยงเชื้อคือ 30 องศา เซลเซียส การสร้างเอนไซม์ไลเปสของเชื้อ T. asteroides LP005 สามารถทำให้เพิ่มมากขึ้นได้โดยใช้อาหารเลี้ยงเชื้อ ซึ่งประกอบด้วย Mineral Salts of Medium A, 0.5% beef extract, 0.5% กากถั่วเหลืองและ 0.5% น้ำมันปาล์ม เอนไซม์ไลเปสที่สร้างขึ้นโดยเชื้อ T. asteroides LP005 สามารถถูกทำให้บริสุทธิ์ได้โดยการตกตะกอนด้วยแอมโมเนียม ซัลเฟตที่ความเข้มข้นอิ่มตัว 70% และผ่านกระบวนการ gel filtration ด้วย Sephadex G-200 เอนไซม์บริสุทธิ์ที่ได้ เมื่อนำไปวิเคราะห์ขนาดของโปรตีนด้วยวิธี SDS-PAGE พบว่า เอนไซม์มีขนาดประมาณ 45 kDa จากการศึกษาคุณสมบัติจำเพาะ พบว่า อุณหภูมิที่เหมาะสมในการทำงานของเอนไซม์คือ 60 องศา เซลเซียส ที่ pH 5.0 และเอนไซม์ยังมีความคงทนเมื่ออยู่ใน สภาวะที่เป็นกรด และที่อุณหภูมิต่ำกว่า 70 องศาเซลเซียส จากการทดสอบการทำงานของเอนไซม์ในสภาวะที่มีอิออนชนิด ต่างๆ พบว่า เอนไซม์สามารถทำงานได้โดยไม่ต้องอาศัยอิออน เหล่านั้น จากการที่พบว่า EDTA ไม่มีผลยับยั้งการทำงานของ เอนไซม์ จึงเป็นไปได้อย่างมากว่าไม่ใช่เอนไซม์ชนิด metalloenzyme ไลเปสนี้ยังไม่แสดงความจำเพาะที่ตำแหน่งใด ของกรดไขมันในโมเลกุลของไตรกลีเซอไรด์อีกด้วย เอนไซม์ไลเปส ที่ผลิตจาก T. asteroides LP005 สามารถย่อยน้ำมันปลาได้ดี จึงสามารถนำเอาเอนไซม์ไปใช้ประโยชน์ได้ในการเพิ่มปริมาณ ของ EPA และ DHA โดยเอนไซม์ไลเปสที่ผลิตจาก T. asteroides LP005 สามารถเพิ่มการสร้าง EPA และ DHA ที่มีอยู่ในน้ำมันปลา ได้ประมาณ 33% และ 47% ตามลำดับ รวมทั้งคุณสมบัติในการใช้ เอนไซม์ไลเปสจากเชื้อ T. asteroides LP005 ลดค่า BOD ของน้ำเสียจากโรงงาน S&P ที่มีไขมันอยู่ปริมาณมาก โดยสามารถ ลดค่า BOD ได้ประมาณ 50%
Description
Biotechnology (Mahidol University 1996)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Science
Degree Discipline
Biotechnology
Degree Grantor(s)
Mahidol University