ผลของการจัดการความปวดทางกายภาพบำบัดต่อการฟื้นตัวหลังการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม
Issued Date
2023
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
Volume
ครั้งที่11
Start Page
76
End Page
86
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล
Suggested Citation
สิริจิตต์ รัตนมุสิก, ณีรนุช สินธุวานนท์ (2023). ผลของการจัดการความปวดทางกายภาพบำบัดต่อการฟื้นตัวหลังการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม. ครั้งที่11 86. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/97448
Title
ผลของการจัดการความปวดทางกายภาพบำบัดต่อการฟื้นตัวหลังการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม
Alternative Title(s)
Effect of Physical Therapy on Post-operative and Recovery outcomes in Patients with Total Knee Arthroplasty
Author(s)
Author's Affiliation
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาผลของกายภาพบำบัดต่ออาการปวดหลังผ่าตัดและการฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม และศึกษาผลของระดับความเจ็บปวดและพิสัยการเคลื่อนไหวของข้อเข่าเทียม ซึ่งเป็นวิธีการวิจัยแบบการสุ่มตัวอย่างเปรียบเทียบ ศึกษาในผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม ณ ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก ในปี 2564 จำนวน 40 คน โดยแบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 20 คนและกลุ่มควบคุม 20 คน กลุ่มทดลองจะได้รับการรักษาด้วยการประคบเย็นและกระตุ้นไฟฟ้ากระแส TENS ก่อนการออกกำลังกายหลังผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม กลุ่มควบคุมจะได้รับโปรแกรมการออกกำลังกายหลังผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม สถิติที่ใช้ในการเปรียบเทียบความปวด และความสามารถในการงอเข่า ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมด้วยสถิติ Independent Sample Test และเปรียบเทียบรายคู่ด้วยสถิติ Pair t-test พบว่าผู้เข้าร่วมวิจัยกลุ่มศึกษา มีระดับความเจ็บปวดลดลงในระยะเวลา 48 ชั่วโมง และมีความสามารถในการงอเข่ามากขึ้นในระยะเวลา 72 ชั่วโมง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ p-value 0.05 ในขณะที่ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเทียบระดับความปวดและพิสัยการเคลื่อนไหวระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม จากผลการวิจัยพบว่า การใช้เครื่องกระตุ้นไฟฟ้าผ่านผิวหนังมีแนวโน้มลดอาการปวดและเพิ่มพิสัยในการงอเข่าในผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมได้ จึงควรมีการศึกษาการใช้เครื่องกระตุ้นไฟฟ้าผ่านผิวหนังร่วมกับวิธีการลดปวดอื่นด้วย เช่น ร่วมกับการใช้ยาลดปวด
Pain is a critical problem and a limitation to the quality of movement in patients with TKA (total knee arthroplasty) . To study the effect of pain management by physical therapy on recovery outcomes after total knee arthroplasty. Our research study in 40 patients with TKA at Golden jubilee center. The patients were divided into 2 groups such as an experimental group 20 persons and a control group 20 persons. The experimental group is treated with a cold pack, TENS (Transcutaneous Electric Nerve Stimulation) before TKA exercise. The other group is treated with only TKA exercise. This study is Randomized Controlled Trial research. Statistical analysis, we use theIndependent sample test for pain and ROM comparing between groups and Pair t- test for pain and ROM comparing in the same group. Results show statistically significant at a p-value less than 0.05. The experimental group shows significantly decrease pain at 48 hours and increase knee ROM at 72 hours after treatment. The comparison within both groups are non-significant in pain and knee ROM. TENS for patients with total knee arthroplasty had a tendency to decrease pain and increase range of motion. Future study is needed for using TENS with Morphine.
Pain is a critical problem and a limitation to the quality of movement in patients with TKA (total knee arthroplasty) . To study the effect of pain management by physical therapy on recovery outcomes after total knee arthroplasty. Our research study in 40 patients with TKA at Golden jubilee center. The patients were divided into 2 groups such as an experimental group 20 persons and a control group 20 persons. The experimental group is treated with a cold pack, TENS (Transcutaneous Electric Nerve Stimulation) before TKA exercise. The other group is treated with only TKA exercise. This study is Randomized Controlled Trial research. Statistical analysis, we use theIndependent sample test for pain and ROM comparing between groups and Pair t- test for pain and ROM comparing in the same group. Results show statistically significant at a p-value less than 0.05. The experimental group shows significantly decrease pain at 48 hours and increase knee ROM at 72 hours after treatment. The comparison within both groups are non-significant in pain and knee ROM. TENS for patients with total knee arthroplasty had a tendency to decrease pain and increase range of motion. Future study is needed for using TENS with Morphine.
Description
การประชุมวิชาการประจำปีศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก ครั้งที่ 11 หัวข้อ Disruptive innovation in Medicine. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 29-31 มีนาคม 2566. หน้า 76-86