Study on correlation between kinetics of oxygen uptake during exercise and anaerobic threshlod
Issued Date
1999
Copyright Date
1999
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xiii, 94 leaves
ISBN
9746631128
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Physiology of Exercise))--Mahidol University, 1999
Suggested Citation
Natjaree Vijavej Study on correlation between kinetics of oxygen uptake during exercise and anaerobic threshlod. Thesis (M.Sc. (Physiology of Exercise))--Mahidol University, 1999. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/103513
Title
Study on correlation between kinetics of oxygen uptake during exercise and anaerobic threshlod
Alternative Title(s)
การศึกษาสหสัมพันธ์ระหว่างจลนศาสตร์ของการใช้ออกซิเจนขณะออกกำลังกายและแอนแอโรบิคเธรชโฮลด์
Author(s)
Abstract
This study was undertaken to determine whether a fast or a slow component of kinetics of oxygen consumption (Vo2)) during exercise at either the same absolute or the same relative work rates related to anaerobic threshold (AT) and endurance exercise performance . Eleven healthy sports-trained young males (age, 19-21 years; Vo(,2max), 46-59 ml/kg/min; AT, 57-74 % Vo2max) performed 6 minutes of cycle ergometer exercise at 50 % and 75 % Vo2max and an endurance exercise test at, or close to, a work rate of 220 watt. Ventilation and gas exchange parameters were monitored by open circuit techniques. The time course of the increase in Vo2 during exercise was characterized by determining the time required for Vo2 to reach one half its asymptotic level ( half- time, T1/2 ). The T1/2 of the fast and the slow components of the Vo2 kinetics were obtained from the semilogarithmic plot of the relative change of Vo2 during exercise against time. It was found that for exercise at the absolute work rate above anaerobic threshold, the T1/2 of the fast Vo2 component ( 45.4 + 2.4 sec ) was independent of the intensity of the work relative to the subjects aerobic fitness. The same was found for the T1/2 of the slow Vo2 component ( 167.4 + 20.0 sec ) except its significant relationship with the absolute work intensity expressed as %AT ( p < 0.01 ). Significant correlation of endurance time with aerobic fitness level of AT relative to Vo2max ( i.e., % Vo2max ) ( p < 0.05 ) but not with the levels of Vo2max and absolute AT ml/kg/min ) were found. At work rates requiring 75% and 50% Vo2max the fast T1/2 ( 43.7 + 2.6 and 40.4 + 2.4 sec, respectively) was also not relate to the exercise intensities either expressed as % Vo2max or %AT, or %Vo2max -AT). Only the relationship of the T1/2 of the slow Vo2 at 75% Vo2max (228.1 + 35.8 sec) with the subjects AT(%Vo(,2max)) was significant (p < 0.05). No significant correlation between endurance time and the slow Tl/2 was observed. It was suggested that the mechanisms which are responsible for the Vo2 slow component might be related more closely to the mechanisms which regulate the level of AT than to those determining the limits of Vo(,2max). In order to use Vo2 kinetics for qualitative assessment and quantitative assessment or classification aerobics fitness or prediction of endurance exercise performance in healthy active subjects, further investigations are required.
ได้ศึกษาเพื่อทดสอบว่า องค์ประกอบส่วนเร็วและส่วนช้าของจลนศาสตร์การใช้ ออกซิเจน (O2) ขณะออกกำลังกายที่ความหนักของงานมีค่าแบบสัมบูรณ์ และแบบสัมพัทธ์ มีความสัมพันธ์ทางสถิติกับค่าแอนแอโรบิคเธรชโฮลด์และความอดทนต่อการออกกำลังกาย อย่างไร โดยทำการทดสอบในอาสาสมัคร ซึ่งเป็นนักกีฬาเพศชาย จำนวน 11 คน อายุ ระหว่าง 19-22 ปี มีค่าอัตราการใช้ O2 สูงสุด 46-59 มิลลิลิตร/กิโลกรัม/นาที ค่าแอนแอโรบิคเธรชโฮลด์ 57-74 เปอร์เซนต์ของการใช้ O2 สูงสุด โดยให้อาสาสมัคร ออกกำลังกายโดยใช้จักรยานแบบอยู่กับที่และคงความหนักของงานที่ 50 และ 75 เปอร์เซนต์ ของอัตราการใช้ O2 สูงสุด เป็นเวลา 6 นาที และทดสอบความอดทนของการออกกำลังกาย ที่ความหนักของงานเท่ากับ หรือใกล้เคียง 220 วัตต์ การวัดอัตราการหายใจและการ แลกเปลี่ยนก๊าซ ในขณะออกกำลังใช้เทคนิคโอเพ่นเซอร์กิต การบอกลักษณะการเพิ่มอัตรา การใช้ O2 ขณะออกกำลังกายทั้งส่วนเร็วและส่วนช้าของจลนศาสตร์ของการใช้ O2 ใช้ค่าฮาร์ฟไทม์ คือ เวลาที่ต้องการเพื่อเพิ่มอัตราการใช้ O2 จากระดับพักจนถึง ครึ่งหนึ่งของระดับสูงสุดที่คงที่ พบว่าขณะออกกำลังกายแบบคงความหนักเท่ากับ หรือใกล้ เคียง 220 วัตต์ ซึ่งมากกว่าระดับแอนแอโรบิคเธรชโฮลด์ ค่าฮาร์ฟไทม์ขององค์ประกอบ ส่วนเร็ว ไม่ขึ้นกับความหนักของงานที่เทียบกับสมรรถภาพร่างกายในการใช้ O2 ค่า ฮาร์ฟไทม์ขององค์ประกอบส่วนช้าก็เช่นกัน แต่พบว่ามีความสัมพันธ์กับความหนักของงาน ที่เทียบกับแอนแอโรบิคเธรชโฮลด์ และพบความสัมพันธ์ระหว่างความอดทนในการออกกำลังกาย กับค่าแอนแอโรบิคเธรชโฮลด์ที่บอกค่าเป็นเปอร์เซนต์ค่าอัตราการใช้ O2 สูงสุด แต่ไม่พบ ความสัมพันธ์ทางสถิติระหว่างความอดทนในการออกกำลังกาย และค่าอัตราการใช้ O2 สูงสุด หรือแอนแอโรบิคเธรชโฮลด์ ที่ระดับความหนักของงานเท่ากับ 75 และ 50 เปอร์เซนต์ ของอัตราการใช้ O2 สูงสุด ค่าฮาร์ฟไทม์ขององค์ประกอบส่วนเร็วไม่ขึ้นกับระดับความหนัก ของงานที่เทียบกับสมรรถภาพร่างกาย แต่ค่าฮาร์ฟไทม์ขององค์ประกอบส่วนช้าที่ความหนัก ของงานที่ 75 เปอร์เซ็นต์ของอัตราการใช้ O2 สูงสุด ขึ้นกับแอนแอโรบิคเธรชโฮลด์ การศึกษาไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างความอดทนในการออกกำลังกายและฮาร์ฟไทม์ขององค์ประกอบ ส่วนช้า ผลการทดลองจากการศึกษานี้ชี้แนะว่ากลไกควบคุมองค์ประกอบส่วนช้าอาจมีความสัมพันธ์ ใกล้ชิดกับกลไกควบคุมแอนแอโรบิคเธรชโฮลด์ มากกว่ากลไกที่กำหนดค่าอัตราการใช้ O2 สูงสุด การนำจลนศาสตร์ของการใช้ O2 ไปประยุกต์ใช้ เพื่อบอกค่าหรือระดับสมรรถภาพ ด้านแอโรบิคของร่างกาย
ได้ศึกษาเพื่อทดสอบว่า องค์ประกอบส่วนเร็วและส่วนช้าของจลนศาสตร์การใช้ ออกซิเจน (O2) ขณะออกกำลังกายที่ความหนักของงานมีค่าแบบสัมบูรณ์ และแบบสัมพัทธ์ มีความสัมพันธ์ทางสถิติกับค่าแอนแอโรบิคเธรชโฮลด์และความอดทนต่อการออกกำลังกาย อย่างไร โดยทำการทดสอบในอาสาสมัคร ซึ่งเป็นนักกีฬาเพศชาย จำนวน 11 คน อายุ ระหว่าง 19-22 ปี มีค่าอัตราการใช้ O2 สูงสุด 46-59 มิลลิลิตร/กิโลกรัม/นาที ค่าแอนแอโรบิคเธรชโฮลด์ 57-74 เปอร์เซนต์ของการใช้ O2 สูงสุด โดยให้อาสาสมัคร ออกกำลังกายโดยใช้จักรยานแบบอยู่กับที่และคงความหนักของงานที่ 50 และ 75 เปอร์เซนต์ ของอัตราการใช้ O2 สูงสุด เป็นเวลา 6 นาที และทดสอบความอดทนของการออกกำลังกาย ที่ความหนักของงานเท่ากับ หรือใกล้เคียง 220 วัตต์ การวัดอัตราการหายใจและการ แลกเปลี่ยนก๊าซ ในขณะออกกำลังใช้เทคนิคโอเพ่นเซอร์กิต การบอกลักษณะการเพิ่มอัตรา การใช้ O2 ขณะออกกำลังกายทั้งส่วนเร็วและส่วนช้าของจลนศาสตร์ของการใช้ O2 ใช้ค่าฮาร์ฟไทม์ คือ เวลาที่ต้องการเพื่อเพิ่มอัตราการใช้ O2 จากระดับพักจนถึง ครึ่งหนึ่งของระดับสูงสุดที่คงที่ พบว่าขณะออกกำลังกายแบบคงความหนักเท่ากับ หรือใกล้ เคียง 220 วัตต์ ซึ่งมากกว่าระดับแอนแอโรบิคเธรชโฮลด์ ค่าฮาร์ฟไทม์ขององค์ประกอบ ส่วนเร็ว ไม่ขึ้นกับความหนักของงานที่เทียบกับสมรรถภาพร่างกายในการใช้ O2 ค่า ฮาร์ฟไทม์ขององค์ประกอบส่วนช้าก็เช่นกัน แต่พบว่ามีความสัมพันธ์กับความหนักของงาน ที่เทียบกับแอนแอโรบิคเธรชโฮลด์ และพบความสัมพันธ์ระหว่างความอดทนในการออกกำลังกาย กับค่าแอนแอโรบิคเธรชโฮลด์ที่บอกค่าเป็นเปอร์เซนต์ค่าอัตราการใช้ O2 สูงสุด แต่ไม่พบ ความสัมพันธ์ทางสถิติระหว่างความอดทนในการออกกำลังกาย และค่าอัตราการใช้ O2 สูงสุด หรือแอนแอโรบิคเธรชโฮลด์ ที่ระดับความหนักของงานเท่ากับ 75 และ 50 เปอร์เซนต์ ของอัตราการใช้ O2 สูงสุด ค่าฮาร์ฟไทม์ขององค์ประกอบส่วนเร็วไม่ขึ้นกับระดับความหนัก ของงานที่เทียบกับสมรรถภาพร่างกาย แต่ค่าฮาร์ฟไทม์ขององค์ประกอบส่วนช้าที่ความหนัก ของงานที่ 75 เปอร์เซ็นต์ของอัตราการใช้ O2 สูงสุด ขึ้นกับแอนแอโรบิคเธรชโฮลด์ การศึกษาไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างความอดทนในการออกกำลังกายและฮาร์ฟไทม์ขององค์ประกอบ ส่วนช้า ผลการทดลองจากการศึกษานี้ชี้แนะว่ากลไกควบคุมองค์ประกอบส่วนช้าอาจมีความสัมพันธ์ ใกล้ชิดกับกลไกควบคุมแอนแอโรบิคเธรชโฮลด์ มากกว่ากลไกที่กำหนดค่าอัตราการใช้ O2 สูงสุด การนำจลนศาสตร์ของการใช้ O2 ไปประยุกต์ใช้ เพื่อบอกค่าหรือระดับสมรรถภาพ ด้านแอโรบิคของร่างกาย
Description
Physiology of Exercise (Mahidol University 1999)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Science
Degree Discipline
Physiology of Exercise
Degree Grantor(s)
Mahidol University