เมื่อฉันเป็นกระบวนกร : กระจกสะท้อนความเข้าใจในตัวฉัน
Issued Date
2559
Copyright Date
2559
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ก-ญ, 129 แผ่น
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
สารนิพนธ์ (ศศ.ม. (จิตตปัญญาศึกษา))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2559
Suggested Citation
ธนิดา อภิสิทธิ์ เมื่อฉันเป็นกระบวนกร : กระจกสะท้อนความเข้าใจในตัวฉัน. สารนิพนธ์ (ศศ.ม. (จิตตปัญญาศึกษา))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2559. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92797
Title
เมื่อฉันเป็นกระบวนกร : กระจกสะท้อนความเข้าใจในตัวฉัน
Alternative Title(s)
Being a facilitator : the mirror to understand my self
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์การเป็นกระบวนกรของตนเองอันส่งผลต่อการทำความเข้าใจในตนเองด้วยการเขียนเชิงอัตชีวประวัติซึ่งเป็นแนวทางหนึ่งของระเบียบวิธีวิจัยแบบการสืบค้นด้วยเรื่องเล่า เพื่อย้อนกลับไปศึกษาประสบการณ์การเป็นกระบวนกรในอดีตของตนเองในช่วงเวลา 3 ปีที่ผ่านมา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555 - 2558 ซึ่งเป็นช่วงเวลาเข้มข้นที่ผู้วิจัยได้เรียนรู้และฝึกฝนตนเองผ่านการเป็นกระบวนกร งานวิจัยชิ้นนี้เป็นงานวิจัยตนเองที่ทั้งผู้วิจัยและผู้ถูกวิจัยเป็นบุคคลคนเดียวกันใช้สรรพนามเรียกแทนตัวเองว่า "ฉัน" และนำเสนอเรื่องเล่า ในหลายรูปแบบทั้งความเรียง บทกวีและงานศิลปะเพื่อสื่อความให้ผู้อ่านได้รับรู้อย่างเป็นธรรมชาติ ผลการวิจัยพบว่า การทำงานกระบวนกรเปรียบเสมือนกระจกที่สะท้อนให้ผู้วิจัยได้มองเห็น กระบวนการทำงานของโลกภายในที่เกิดขึ้นในตนเอง เช่น สภาวะความกลัว ความอยาก ความคาดหวัง การไม่ยอมรับในตนเองและการยึดติดกับภาพอุดมคติที่สมบูรณ์แบบจนทำ ให้ชีวิตไม่มีความสุข ผู้วิจัยได้มองเห็นแบบแผนความคิด ความเชื่อและการตีความต่อสิ่งต่าง ๆ ในแบบที่คุ้นชินซึ่งสร้างความทุกข์ให้แก่ตนเองซึ่งประกอบด้วย 1. แบบแผนการใช้ชีวิตอยู่ในโลกแห่งความคิด ความฝันในอนาคต 2. แบบแผนการใช้ชีวิตที่ยึดติดอยู่กับประสบการณ์ฝังใจในอดีตที่ปิดกั้นไม่ให้ผู้วิจัยสามารถมองเห็นตนเองและสิ่งต่าง ๆ ได้ตามความเป็นจริง "การฝึกสติตระหนักรู้ในตนเอง" จึงเป็นส่วนสำคัญที่ช่วยให้ผู้วิจัยสามารถรับรู้ตนเองและสิ่งต่าง ๆ ตามความเป็นจริงส่งผลให้เกิดความรัก ความเข้าใจและการยอมรับตนเองได้มากยิ่งขึ้น การค้นพบความหมายใหม่ของการเป็นกระบวนกรซึ่งก็คือวิถีของการหลอมรวมสิ่งที่ได้เรียนรู้มาฝึกใช้ในชีวิตประจำวันผ่านการใคร่ครวญตนเองอยูเ่สมอยังส่งผลต่อความเข้าใจในการดำเนินชีวิตต่อไปของผู้วิจัยด้วย
The objective of this research was to study the experience of being a facilitator and how this affected the self-understanding of the researcher. The researcher used autobiographical and narrative inquiry methods to contemplate her own experience through the intensive period of learning and practicing of being a facilitator in the period of three years, from 2012-2015. This research was a self-study that used I dialogue as the narrator to communicate in various forms including narrative writing, poetry, and art expression. From this study, the researcher found that working as a facilitator was a mirror to reflect her fear, desire, expectation, self-disagreement and the attachment to idealistic perfection which caused unhappiness in life. She learned the process of how she saw the world, her habitual pattern of thought, belief, attitude and interpretation until she discovered two main causes of suffering in her life. 1) Holding to the ideal life of what the future should be, and 2) Clinging to the past life. Due to these two patterns of thought, the researcher could not see herself and the world as it is. Practicing self-awareness was a significant qualification of mind that supported her to perceive things and herself as they were without distortion and it also led her to self-love, self-understanding and selfacceptance. She discovered the new meaning of being a facilitator through creating new meaning of living her life with integrity, self-contemplation and the application of knowledge to life.
The objective of this research was to study the experience of being a facilitator and how this affected the self-understanding of the researcher. The researcher used autobiographical and narrative inquiry methods to contemplate her own experience through the intensive period of learning and practicing of being a facilitator in the period of three years, from 2012-2015. This research was a self-study that used I dialogue as the narrator to communicate in various forms including narrative writing, poetry, and art expression. From this study, the researcher found that working as a facilitator was a mirror to reflect her fear, desire, expectation, self-disagreement and the attachment to idealistic perfection which caused unhappiness in life. She learned the process of how she saw the world, her habitual pattern of thought, belief, attitude and interpretation until she discovered two main causes of suffering in her life. 1) Holding to the ideal life of what the future should be, and 2) Clinging to the past life. Due to these two patterns of thought, the researcher could not see herself and the world as it is. Practicing self-awareness was a significant qualification of mind that supported her to perceive things and herself as they were without distortion and it also led her to self-love, self-understanding and selfacceptance. She discovered the new meaning of being a facilitator through creating new meaning of living her life with integrity, self-contemplation and the application of knowledge to life.
Description
จิตตปัญญาศึกษา (มหาวิทยาลัยมหิดล 2559)
Degree Name
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
ศูนย์จิตตปัญญาศึกษา
Degree Discipline
จิตตปัญญาศึกษา
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล